Anonymous wrote:เขตเหมืองถ่านหิน 1 ใน 3 แห่งในเขตเมืองกะลึม แขวงเซกองในภาพที่เผยแพร่สัปดาห์ที่แล้วโดยสื่อของทางการซึ่งระบุว่าทั้ง 3 แห่งมีพื้นที่รวมกันถึง 1,000 ตารางกิโลเมตรมีปริมาณลิกไนต์กว่า 210 ล้านตันเป็นสัมปทานของบริษัทก่อสร้างสัญชาติลาวแห่งหนึ่ง จะเริ่มผลิตปีนี้เพื่อเตรียมป้อนโรงไฟฟ้าพลังความร้อนอีก 2 แห่งที่จะสร้างขึ้นเร็วๆ นี้ ซึ่งจะเป็นแห่งที่ 2 และ 3 ถัดจากโรงไฟฟ้าหงสาขนาด 1,600 เมกะวัตต์ในแขวงไซยะบูลีทางภาคเหนือ. -- ภาพ: สำนักข่าวสารปะเทดลาว. ASTVผู้จัดการออนไลน์ –เหมืองถ่านหินขนาดใหญ่ในแขวงเซกองของลาวจะเริ่มการผลิตตั้งแต่ปีนี้เป็นต้นนี้ เป็นลิกไนต์ที่สามารถป้อนเป็นเชื้อเพลิงสำหรับโรงไฟฟ้าพลังความร้อน 2 แห่งที่จะสร้างขึ้นในแขวงภาคใต้แห่งนี้ สื่อของทางการรายงานเรื่องนี้ หลังจาก พล.ท.จูมมะลี ไซยะสอน ประธานประเทศไปเยี่ยมชมกิจการเหมืองถ่านหินแห่งนี้ในช่วงก่อนวันหยุดเทศกาลปีใหม่ประเพณีที่ผ่านมา ตามรายงานของสำนักข่าวสารปะเทดลาว ประธานประเทศลาวได้เดินทางไปยังเมือง (อำเภอ) กะลึมในวันที่ 10 เม.ย.โดยเฮลิคอปเตอร์ ที่นั่นเป็นที่ตั้งเหมืองถ่านหินแห่งหนึ่งและยังมีอีก 2 แห่งกระจายอยู่ในท้องถิ่นใกล้เคียงกันในเขตเมืองที่ยังเป็นดินแดนลี้ลับที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์แห่งนี้ ตามรายงานของสำนักข่าวทางการ เหมืองลิกไนต์เซกองมีปริมาณลิกไนต์ถึง 215.6 ล้านตัน รัฐบาลได้ให้สัมปทานแก่พอนสักกรู๊ปซึ่งเป็นบริษัทของนักลงทุนลาว โดยระหว่างปี 2558 จนถึง 2561 จะขุดค้นให้ได้ปีละ 3 ล้านตัน ซึ่งคาดว่าจะสามารถนำขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้นานถึง 25 ปีหรือนานยิ่งกว่านั้น เมืองลิกไนต์ภาคใต้ครอบคลุมพื้นที่ไพศาลถึง 1 แสนเฮกตาร์ (ราว 1,000 ตารางกิโลเมตร) เป็นเหมืองแบบเปิดหน้าดินเพื่อขุดลึกลงให้ถึงถ่านหิน สื่อของทางการรายงานโดยไม่ได้ให้รายละเอียดใดๆ เกี่ยวกับโรงไฟฟ้าพลังความร้อน 2 โรงที่กล่าวถึง อย่าไรก็ตามสื่อของทางการรายงานก่อนหน้านี้ว่า ตัวเทศบาลเมืองกะลืมแห่งนี้จะต้องโยกย้ายออกไปตั้ง ณ ที่แห่งใหม่ห่างจากจุดเดิมออกไปกว่า 30 กิโลเมตรทางชายแดนเวียดนาม เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่จะถูกน้ำท่วมจากการสร้างเขื่อนเซกอง 4 ของกลุ่มบริษัทน้ำมันจากรัสเซีย นอกจากนั้นยังเป็นเขตพื้นที่เหมืองถ่านหินอีกด้วย กลุ่มพอนสักกลุ่มเดียวกันนี้ได้เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างสำนักงานเขตเทศบาลแห่งใหม่ สร้างระบบสาธารณูปโภค ตลอดจนสร้างบ้านพักที่อยู่อาศัยของพนักงานรัฐกับบ้านเรือนสำหรับประชาชนเกือบ 4,000 คนที่อพยพไปยังอำเภอแห่งใหม่ด้วย ตามรายงานเมื่อปี 2554 กลุ่มพอนสักได้เซ็นสัญญาเรื่องนี้กับทางการในเดือน ม.ค. โดยจะใช้เวลาดำเนินการ 3 ปี แต่ไม่ได้มีการกล่าวถึงรายละเอียดอื่นใดๆ อีก รวมทั้งความเกี่ยวกับพันกันระหว่างสัญญาสัมปทานเหมืองถ่านหินกับการรับเหมาก่อสร้างดังกล่าว รายงานในเดือน ธ.ค.2556 ระบุว่าการก่อสร้างต่างๆ ในเขตเทศบาลเมืองกะลืมแห่งใหม่มีความคืบหน้าไปหลายโครงการตั้งแต่ 30-60% แต่การก่อสร้างเขื่อนเซกอง 4 ยังไม่สามารถเริ่มขึ้นได้เนื่องจากทั้งปัญหาน้ำท่วมเทศบาลเมืองและปัญหาการทำเหมืองถ่านหิน. .พล.ท.จูมมะลี ซยะสอน ประธานประเทศเดินทางเยือนเมืองกะลึมกับเหมืองถ่านหินในแขวงเซกองเมื่อวันที่ 10 เม.ย. ทำให้เรื่องราวลี้ลับเกี่ยวกับขุมทรัพย์ "ทองดำ" มหึมาในภาคใต้ถูกเปิดเผย. -- ภาพ: สำนักข่าวสารปะเทดลาว.
กลุ่ม พอนสัก รู้สึกว่าจะมีสายสัมพันธ์กับราชวงศ์ลาวแดงเยอะนะ รวยมาจากการขายไม้ ส่งออกเวียดนาม พร้อมทั้งทำโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์ หลังๆมาทำเขื่อน ตอนนี้ทำเหมือง
บอกได้คำเดียวว่า รวยๆ เหมือนกับรัฐบาลลาวโยนเงินให้ เพราะเศรษฐีลาวส่วนใหญ่จะร่ำรวยมาจากสัมปทาน แล้วค่อยไปต่อยอดธุรกิจด้านอื่น แต่รายได้หลักก็หนีไม่พ้นสัมปทานทรัพยากรธรรมชาติอยู่ดี
ผมถือว่าเป็นธุรกิจโนว์ฮาวต่ำ เพราะแค่มีใบสัมปทานอยู่ในมือ คุณก็กลายเป็นเศรษฐีได้แล้ว ลาวไม่ค่อยมีผลิตภัณฑ์เพราะหากินกับทรัพยากรมันง่ายกว่า
วันใดสูบหมด นึกสภาพไม่ออก เหมืองทองเซโปน ก็ทยอยปลดคนงาน เพราะสูบใกล้จะหมดแล้ว
Anonymous wrote:Anonymous wrote:เขตเหมืองถ่านหิน 1 ใน 3 แห่งในเขตเมืองกะลึม แขวงเซกองในภาพที่เผยแพร่สัปดาห์ที่แล้วโดยสื่อของทางการซึ่งระบุว่าทั้ง 3 แห่งมีพื้นที่รวมกันถึง 1,000 ตารางกิโลเมตรมีปริมาณลิกไนต์กว่า 210 ล้านตันเป็นสัมปทานของบริษัทก่อสร้างสัญชาติลาวแห่งหนึ่ง จะเริ่มผลิตปีนี้เพื่อเตรียมป้อนโรงไฟฟ้าพลังความร้อนอีก 2 แห่งที่จะสร้างขึ้นเร็วๆ นี้ ซึ่งจะเป็นแห่งที่ 2 และ 3 ถัดจากโรงไฟฟ้าหงสาขนาด 1,600 เมกะวัตต์ในแขวงไซยะบูลีทางภาคเหนือ. -- ภาพ: สำนักข่าวสารปะเทดลาว. ASTVผู้จัดการออนไลน์ –เหมืองถ่านหินขนาดใหญ่ในแขวงเซกองของลาวจะเริ่มการผลิตตั้งแต่ปีนี้เป็นต้นนี้ เป็นลิกไนต์ที่สามารถป้อนเป็นเชื้อเพลิงสำหรับโรงไฟฟ้าพลังความร้อน 2 แห่งที่จะสร้างขึ้นในแขวงภาคใต้แห่งนี้ สื่อของทางการรายงานเรื่องนี้ หลังจาก พล.ท.จูมมะลี ไซยะสอน ประธานประเทศไปเยี่ยมชมกิจการเหมืองถ่านหินแห่งนี้ในช่วงก่อนวันหยุดเทศกาลปีใหม่ประเพณีที่ผ่านมา ตามรายงานของสำนักข่าวสารปะเทดลาว ประธานประเทศลาวได้เดินทางไปยังเมือง (อำเภอ) กะลึมในวันที่ 10 เม.ย.โดยเฮลิคอปเตอร์ ที่นั่นเป็นที่ตั้งเหมืองถ่านหินแห่งหนึ่งและยังมีอีก 2 แห่งกระจายอยู่ในท้องถิ่นใกล้เคียงกันในเขตเมืองที่ยังเป็นดินแดนลี้ลับที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์แห่งนี้ ตามรายงานของสำนักข่าวทางการ เหมืองลิกไนต์เซกองมีปริมาณลิกไนต์ถึง 215.6 ล้านตัน รัฐบาลได้ให้สัมปทานแก่พอนสักกรู๊ปซึ่งเป็นบริษัทของนักลงทุนลาว โดยระหว่างปี 2558 จนถึง 2561 จะขุดค้นให้ได้ปีละ 3 ล้านตัน ซึ่งคาดว่าจะสามารถนำขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้นานถึง 25 ปีหรือนานยิ่งกว่านั้น เมืองลิกไนต์ภาคใต้ครอบคลุมพื้นที่ไพศาลถึง 1 แสนเฮกตาร์ (ราว 1,000 ตารางกิโลเมตร) เป็นเหมืองแบบเปิดหน้าดินเพื่อขุดลึกลงให้ถึงถ่านหิน สื่อของทางการรายงานโดยไม่ได้ให้รายละเอียดใดๆ เกี่ยวกับโรงไฟฟ้าพลังความร้อน 2 โรงที่กล่าวถึง อย่าไรก็ตามสื่อของทางการรายงานก่อนหน้านี้ว่า ตัวเทศบาลเมืองกะลืมแห่งนี้จะต้องโยกย้ายออกไปตั้ง ณ ที่แห่งใหม่ห่างจากจุดเดิมออกไปกว่า 30 กิโลเมตรทางชายแดนเวียดนาม เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่จะถูกน้ำท่วมจากการสร้างเขื่อนเซกอง 4 ของกลุ่มบริษัทน้ำมันจากรัสเซีย นอกจากนั้นยังเป็นเขตพื้นที่เหมืองถ่านหินอีกด้วย กลุ่มพอนสักกลุ่มเดียวกันนี้ได้เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างสำนักงานเขตเทศบาลแห่งใหม่ สร้างระบบสาธารณูปโภค ตลอดจนสร้างบ้านพักที่อยู่อาศัยของพนักงานรัฐกับบ้านเรือนสำหรับประชาชนเกือบ 4,000 คนที่อพยพไปยังอำเภอแห่งใหม่ด้วย ตามรายงานเมื่อปี 2554 กลุ่มพอนสักได้เซ็นสัญญาเรื่องนี้กับทางการในเดือน ม.ค. โดยจะใช้เวลาดำเนินการ 3 ปี แต่ไม่ได้มีการกล่าวถึงรายละเอียดอื่นใดๆ อีก รวมทั้งความเกี่ยวกับพันกันระหว่างสัญญาสัมปทานเหมืองถ่านหินกับการรับเหมาก่อสร้างดังกล่าว รายงานในเดือน ธ.ค.2556 ระบุว่าการก่อสร้างต่างๆ ในเขตเทศบาลเมืองกะลืมแห่งใหม่มีความคืบหน้าไปหลายโครงการตั้งแต่ 30-60% แต่การก่อสร้างเขื่อนเซกอง 4 ยังไม่สามารถเริ่มขึ้นได้เนื่องจากทั้งปัญหาน้ำท่วมเทศบาลเมืองและปัญหาการทำเหมืองถ่านหิน. .พล.ท.จูมมะลี ซยะสอน ประธานประเทศเดินทางเยือนเมืองกะลึมกับเหมืองถ่านหินในแขวงเซกองเมื่อวันที่ 10 เม.ย. ทำให้เรื่องราวลี้ลับเกี่ยวกับขุมทรัพย์ "ทองดำ" มหึมาในภาคใต้ถูกเปิดเผย. -- ภาพ: สำนักข่าวสารปะเทดลาว. กลุ่ม พอนสัก รู้สึกว่าจะมีสายสัมพันธ์กับราชวงศ์ลาวแดงเยอะนะ รวยมาจากการขายไม้ ส่งออกเวียดนาม พร้อมทั้งทำโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์ หลังๆมาทำเขื่อน ตอนนี้ทำเหมืองบอกได้คำเดียวว่า รวยๆ เหมือนกับรัฐบาลลาวโยนเงินให้ เพราะเศรษฐีลาวส่วนใหญ่จะร่ำรวยมาจากสัมปทาน แล้วค่อยไปต่อยอดธุรกิจด้านอื่น แต่รายได้หลักก็หนีไม่พ้นสัมปทานทรัพยากรธรรมชาติอยู่ดีผมถือว่าเป็นธุรกิจโนว์ฮาวต่ำ เพราะแค่มีใบสัมปทานอยู่ในมือ คุณก็กลายเป็นเศรษฐีได้แล้ว ลาวไม่ค่อยมีผลิตภัณฑ์เพราะหากินกับทรัพยากรมันง่ายกว่าวันใดสูบหมด นึกสภาพไม่ออก เหมืองทองเซโปน ก็ทยอยปลดคนงาน เพราะสูบใกล้จะหมดแล้ว
^
ເປັນດີໃຄ່ຫົວບັກຄວາມເຫັນຂ້າງເທິງແທ້ຄີງເຂົາ ລັກສຳເນົາຄວາມເຫັນຂອງຜູ້ອື່ນຫວາ?
ນະໂຍບາຍຫັນຊັພໃຫ້ເປັນທຶນເປັນນະໂຍບາຍທີ່ດີຖ້າມີການສຶກສາຄົ້ນຄວ້າຣະອຽດ.
ຖ້າຫວຽດນາມເປັນຜູ່ຢູ່ເບື້ອງຫຼັງຂອງບໍຣິສັດພອນສັກ ກໍ່ສະແດງວ່າຣັຖບານ ສປປ ລາວ
ປະຕິບັດໄດ້ດີສັນຍາພິເສດມິດຕະພາບລາວ-ຫວຽດນາມທີ່ໄກສອນໄດ້ເຊັນກັບຟາມວັນດົງ
ໃນວັນທີ 17 ກໍຣະກະດາ 1977.
----------------------------------------------------------------------
ຖອນສັນຍາພິເສດນີ້ ອອກຈາກແກວຂີ້ຮິດໄດ້ບໍ່?
----------------------------------------------------------------------ຖອນສັນຍາພິເສດນີ້ ອອກຈາກແກວຂີ້ຮິດໄດ້ບໍ່?
ສັນຍານີ້ມີອາຍຸ 25 ປີ, ຄວນຈະໝົດອາຍຸໃນປີ 2002 ແຕ່ຜູ່ນຳລາວບໍ່ຍົກເລີກ ຈຶ່ງໄດ້ເຊັນຕໍ່ອາຍຸສັນຍາຕື່ມອີກ 10 ປີ.
ພໍມາຮອດປີ 2012 ເພິ່ນກໍ່ໄດ້ເຊັນຕໍ່ອີກ ແລະຈະໝົດອາຍຸໃນປີ 2022. ແລະຖ້າຝ່າຍໃດຝາຍນຶ່ງຈະລົບລ້າງສັນຍາ
ກໍ່ຕ້ອງບອກລ່ວງໜ້າ 1 ປີ.
Anonymous wrote:ນະໂຍບາຍຫັນຊັພໃຫ້ເປັນທຶນເປັນນະໂຍບາຍທີ່ດີຖ້າມີການສຶກສາຄົ້ນຄວ້າຣະອຽດ.ຖ້າຫວຽດນາມເປັນຜູ່ຢູ່ເບື້ອງຫຼັງຂອງບໍຣິສັດພອນສັກ ກໍ່ສະແດງວ່າຣັຖບານ ສປປ ລາວປະຕິບັດໄດ້ດີສັນຍາພິເສດມິດຕະພາບລາວ-ຫວຽດນາມທີ່ໄກສອນໄດ້ເຊັນກັບຟາມວັນດົງໃນວັນທີ 17 ກໍຣະກະດາ 1977.
ເວົ້າຄີໂຕເອງເປັນພັກພວກຜູ້ຮັກແພງຂອງບັກຫົວຂອດແດກໝາໜ້າດາ້ນແທ້ໆນໍ
ເຂົາກະຊິຮັກກັນລະຕິ ເຂົ້າເມັດນຶ່ງເຂົາຈຶ່ງຫັກໃຫ້ກັນກິນ ຜັກໃບນຶ່ງກໍ່ແບ່ງກັນກິນ
ໃນສະໃໝສົງຄາມ, ຍາມສະຫງົບເຂົາກໍ່ແບ່ງປັນຄວາມຮັ່ງມີທີ່ໄດ້ມາຈາກການປຸ້ນ
ສະດົມຊັບພະຍາກອນໃນແຜ່ນດິນລາວ ອ້າຍເອົາສອງ ນ້ອງເອົານຶ່ງ.