Pasalao

Members Login
Username 
 
Password 
    Remember Me  
Post Info TOPIC: PASALAO IN THAILAND
Anonymous

Date:
PASALAO IN THAILAND


ภาษาลาวสำเนียงฝั่งขวา แต่ละจังหวัดในประเทศไทย

icon-viewfav.pngicon-add2fav.png
pj_share_bt.png

 

          เปรียบเทียบอีสาน กับ ลาว มีพื้นที่ประมาณ ครึ่งหนึ่งของประเทศไทย(236,800 ตารางกิโลเมตร ) - มีพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งของลาว   ( 168,854 ) ประชากรราว 21,697,488 คน ลาว-มีประชากรราว 6,850,345 คน    ภาษาอีสานมีคนใช้ประมาณ 17 ล้านคน 

เมืองหลวงของลาวคือ นครหลวงเวียงจันทน์ 700.000 คน เมืองไกสอน ประชากรราว 120.000 คน  ภาคอีสาน -นครโคราช   ประชากร 162,799 คน 

                        - นครขอนเเจ่น  ประชากร 113,754 คน   นครอุดร ประชากร 137,948 คน   นครอุบล ประชากร 105,081 คน

 

ภาษาไทยถิ่นอีสาน เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่ง ในสำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวซึ่งแบ่งเป็น 6 สำเนียงใหญ่ คือ

1.ภาษาลาวเวียงจันทน์ ใช้ในประเทศลาวท้องที่ เมืองเวียงจันทน์ บอลิคำไซ และในประเทศไทยท้องที่ จ.ชัยภูมิ หนองบัวลำภู หนองคาย (อ.เมือง ศรีเชียงใหม่ ท่าบ่อ โพนพิสัย) ขอนแก่น (อ.ภูเวียง ชุมแพ สีชมพู ภูผาม่าน หนองนาคำ เวียงเก่า หนองเรือบางหมู่บ้าน) ยโสธร (อ.เมือง ทรายมูล กุดชุม บางหมู่บ้าน) อุดรธานี (อ.บ้านผือ เพ็ญ บางหมู่บ้าน) ศรีสะเกษ (ในบางหมู่บ้านของ อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอขุขันธ์ และ อำเภอขุนหาญ)

            

2.ภาษาลาวเหนือ ใช้ในประเทศลาวท้องที่ เมืองหลวงพระบาง ไซยะบูลี อุดมไซ ในประเทศไทยท้องที่ จ.เลยทั้งจังหวัด(มีบางอำเภอที่ใช้สำเนียงแตกต่างกันออกไป) อุตรดิตถ์ (อ.บ้านโคก น้ำปาด ฟากท่า) เพชรบูรณ์ (อ.หล่มสัก หล่มเก่า น้ำหนาว) ขอนแก่น (อ.ภูผาม่าน และบางหมู่บ้านของ อ.สีชมพู ชุมแพ) ชัยภูมิ (อ.คอนสาร) พิษณุโลก (อ.ชาติตระการ และนครไทยบางหมู่บ้าน) หนองคาย (อ.สังคม) อุดรธานี (อ.น้ำโสม นายูง บางหมู่บ้าน)

    

3.ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ในประเทศลาวท้องที่เมืองเซียงขวาง หัวพัน ในประเทศไทยท้องที่บ้านเชียง อ.หนองหาน อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี และบางหมู่บ้าน ใน จ.สกลนคร หนองคาย และยังมีชุมชนลาวพวนในภาคเหนือบางแห่งในจังหวัด สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ ไม่กี่หมู่บ้านเท่านั้น

  

4.ภาษาลาวกลาง แยกออกเป็นสำเนียงถิ่น 2 สำเนียงใหญ่ คือ ภาษาลาวกลางถิ่นคำม่วน และถิ่นสะหวันนะเขด ถิ่นคำม่วน จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จ.นครพนม สกลนคร หนองคาย (อ.เซกา บึงโขงหลง บางหมู่บ้าน) ถิ่นสะหวันนะเขด จังหวัดที่พูดมีจังหวัดเดียว คือ จ.มุกดาหาร

 

5.ภาษาลาวใต้ ใช้ในประเทศลาวท้องที่แขวงจำปาสัก สาละวัน เซกอง อัตตะปือ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย จ.อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร

  

6.ภาษาลาวตะวันตก ไม่มีใช้ในประเทศลาว เป็นภาษาที่ใช้ในท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ท้องที่ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มหาสารคาม และบริเวณใกล้เคียงมลฑลร้อยเอ็ด ของประเทศสยาม

   

ส่วนภาษาเขียนในอดีตใช้อักษรธรรมล้านช้างหรือตัวธรรม สำหรับบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมะหรือพระพุทธศาสนา และเขียนด้วยอักษรไทน้อยหรือตัวลาว(เป็นอักษรลาวล้านช้างโบราณมีความแตกต่างกับอักษรลาวในสปป.ลาวในปัจจุบันเล็กน้อย)สำหรับเรื่องราวทางโลก อักษรลาวล้านช้าง(ตัวลาวหรืออักษรไทน้อย)มีพยัญชนะ 20 เสียง สระเดี่ยว 18 เสียง สระประสม 2-3 เสียง บางท้องถิ่นไม่มีเสียงสระเอือ ในปัจจุบันนิยมใช้อักษรไทยสำหรับเขียนบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งในทางโลกและทางธรรม เนื่องจากผู้คนส่วนใหญ่ไม่สามารถอ่านตัวอักษรธรรมและอักษรลาวออก แต่ความนิยมในการเขียนบันทึกเป็นภาษาถิ่นไม่ค่อยได้รับความนิยมนัก โดยส่วนใหญ่ภาษาเขียนในท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย(อีสาน)จะใช้อักษรไทยและบันทึกเป็นภาษาไทยกลางเป็นหลักแทน

 

แล้วคุณล่ะใช่ภาษาลาวสำเนียงไหน



__________________
Anonymous

Date:

ลาวพวน  555+ บ้านทุ่งโฮ้ง  แพร่ 



__________________
Anonymous

Date:

ภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้ภาษาในประเทศไทย

  • ไทย (กลาง) : 20,182,571 : จังหวัดภาคกลาง และจังหวัดอื่นๆ ทั่วประเทศ
  • ภาษาไทยถิ่นอีสาน : 15,000,000 ; 17 จังหวัดในภาคอีสาน และในกรุงเทพมหานคร (ราว 1 ล้านคน)
  • ไทยถิ่นเหนือ (คำเมือง) : 6,000,000 ; ภาคเหนือตอนบน
  • ไทยถิ่นใต้ (ตามโพร) : 5,000,000 ; 14 จังหวัดภาคใต้ และบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
  • มลายูปัตตานี: 3,100,000 : ยะลา ปัตตานี นราธิวาส และบางส่วนของจังหวัดสงขลา 2,600,000 คน พูดในกรุงเทพและที่อื่น ราว 500,000 คน
  • เขมร : 2,000,000  : สุรินทร์, ศรีสะเกษ, บุรีรัมย์, ฉะเชิงเทรา, สระแก้ว, ตราด, ร้อยเอ็ด, อุบลราชธานี, ราชบุรี, กรุงเทพมหานคร, จันทบุรี, ตราด
  • ภาษาไทยโคราช:ประมาณ 2,000,000 :นครราชสีมา และบางส่วนของจังหวัด สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ บุรีรัมย์
  • จีนแต้จิ๋ว : 1,081,920
  • ภาษากวย (ส่วย) : 300,000 : สุรินทร์, บุรีรัมย์, ศรีสะเกษ, อุบลราชธานี, ร้อยเอ็ด
  • ภาษากะเหรี่ยงสะกอ : 300,000 : กาญจนบุรี,ตาก, แม่ฮ่องสอน, เชียงใหม่, เชียงราย
  • ผู้ไท : 156,000 : กาฬสินธุ์, นครพนม, มุกดาหาร , สกลนคร, อุบลราชธานี และ อุดรธานี
  • มอญ : 107,630 : กาญจนบุรี,ปทุมธานี, สมุทรสาคร, ราชบุรี, ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, ลพบุรี, นครราชสีมา, นนทบุรี, กรุงเทพฯ, อุทัยธานี, ฉะเชิงเทรา, นครปฐม, ลำพูน
  • ภาษากะยาตะวันออก : 98,642 : แม่ฮ่องสอน
  • ภาษาพวน : 98,605 : อุทัยธานี, พิจิตร, เพชรบูรณ์, ลพบุรี, สิงห์บุรี, สุพรรณบุรี, สระบุรี, นครนายก, ปราจีนบุรี, อุดรธานี, เลย
  • ภาษาไทลื้อ : 83,000 : เชียงราย, พะเยา, ลำพูน, น่าน
  • ภาษาไทใหญ่ : 60,000 : เชียงราย, เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน, ตาก
  • ภาษาอะข่า (อีก้อ) : 60,000 : เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน
  • ภาษากะเหรี่ยงโปเหนือ : 60,000 : แม่ฮ่องสอน, เชียงใหม่
  • ภาษาจีนแคะ : 58,800 : ยะลา, สงขลา
  • ภาษาโส้: 58,000 : นครพนม, สกลนคร, หนองคาย, กาฬสินธุ์
  • ภาษากะเหรี่ยงโปตะวันตก : 50,000 : ตาก, อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี , ประจวบคีรีขันธ์
  • ภาษาไทญ้อ : 50,000 : สกลนคร, หนองคาย, นครพนม
  • ภาษาเย้า (เมี่ยน) :40,000 :เชียงใหม่, เชียงราย, พะเยา, ลำปาง, กำแพงเพชร, น่าน, สุโขทัย
  • ภาษาเปร 3 : 38,808 : น่าน
  • ภาษาม้งตะวันตก : 33,000 : ตาก, น่าน, เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน, เพชรบูรณ์, เชียงราย, พะเยา, แพร่, เลย, สุโขทัย, กำแพงเพชร, อุทัยธานี
  • ภาษาม้งขาว : 32,395 : เพชบูรณ์, ตาก, แม่ฮ่องสอน, เชียงใหม่, น่าน, เชียงราย, พิษณุโลก, เลย, สุโขทัย, กำแพงเพชร, แพร่, พะเยา, อุตรดิตถ์, ลำปาง
  • ภาษาโส้ง : 32,307 ; กาญจนบุรี, เพชรบุรี, พิษณุโลก, นครสวรรค์, นครปฐม, สุพรรณบุรี
  • ภาษาล่าหู่ (มูเซอ) : 32,000 : เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน , ลำปาง, ตาก
  • ภาษาขมุ: 31,403 : เชียงราย, น่าน, พะเยา
  • ภาษาไพ : 31,000 : น่าน
  • ภาษาจีนกวางตุ้ง : 29,400
  • ล่าหู่เหลือง : 20,000 : น่าน
  • บรู (ตะวันตก) : 20,000 : มุกดาหาร
  • ภาษาลีซอ (ลีซู) : 16,000 : เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน, ตาก, สุโขทัย, กำแพงเพชร
  • ภาษายอง : 12,561 ; เชียงราย เรียงใหม่ ลำพูน (คล้ายภาษาลื้อ)
  • ภาษาแสก : 11,000 : นครพนม, บางส่วนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ภาษาญัฮกุ้ร : 10,000 : นครราชสีมา, เพชรบูรณ์, ชัยภูมิ
  • ภาษาละว้า : 7,000 : เชียงใหม่, เชียงราย
  • ละว้าตะวันตก, 7,000 : เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน
  • ภาษาไทเขิน : 6,281 : เชียงราย, เชียงใหม่
  • ลัวะ : 6,281 : น่าน
  • จีนกลาง : 5,880
  • ภาษาบรู (ตะวันออก): 5,000 : สกลนคร
  • ภาษาโย้ย : 5,000 คน ; สกลนคร
  • ภาษาปาเล : 5,000
  • ภาษามัล : 3,000 - 4,000 : น่าน
  • ภาษาจาม : 4,000 : ปัตตานี, ยะลา, นราธิวาส, ตราด, ระยอง, กรุงเทพฯ
  • ภาษาอูรักลาโว้ย : 3,000 ; ภูเก็ต และเกาะในทะเลอันดามัน
  • ภาษามอเกลน : 1,500 : ชายฝั่งตะวันตกของภาคใต้ ภูเก็ต, พังงา
  • ภาษามปี : 900 : แพร่, พะเยา
  • ภาษากะเหรี่ยงโป : 743 : แม่ฮ่องสอน
  • ภาษาไทดำ : 700 : เลย
  • ภาษาชอง : 500 : จันทบุรี, ตราด
  • ภาษาตองงา : 300 พัทลุง, ตรัง
  • ภาษาซาไก : 300 : ยะลา, พัทลุง, สตูล, นราธิวาส, ชายแดนไทยมาเลเซีย
  • ภาษามลาบรี (ตองเหลือง) : 300 : น่าน, พะเยา, แพร่, อุตรดิตถ์, พิษณุโลก, เลย
  • ภาษาเยอ : 200 ศรีสะเกษ
  • ภาษาอูกง (Ugong) : 80 ; กาญจนบุรี, อุทัยธานี, สุพรรณบุรี
  • ภาษาม๊อก : 7 : เชียงใหม่
  • ภาษาไทแอ่ : พิษณุโลก
  • ภาษามุง : เชียงราย
  • ภาษามอแกน : ชายฝั่งตะวันตกของภาคใต้ ภูเก็ต พังงา, กระบี่, ระนอง
  • ภาษาเขมรลาวเดิม : ราชบุรี
  • ภาษามลายูถิ่นสตูล : สตูล
  • ภาษามลายูถิ่นนครศรีธรรมราช : ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอท่าศาลา นครศรีธรรมราช
  • ภาษามลายูบางกอก : กรุงเทพฯ, นนทบุรี, ปทุมธานี
  • ภาษาเจ๊ะเห : นราธิวาส, ปัตตานี


__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้ภาษาในประเทศไทย

  • ไทย (กลาง) : 20,182,571 : จังหวัดภาคกลาง และจังหวัดอื่นๆ ทั่วประเทศ
  • ภาษาไทยถิ่นอีสาน : 15,000,000 ; 17 จังหวัดในภาคอีสาน และในกรุงเทพมหานคร (ราว 1 ล้านคน)
  • ไทยถิ่นเหนือ (คำเมือง) : 6,000,000 ; ภาคเหนือตอนบน
  • ไทยถิ่นใต้ (ตามโพร) : 5,000,000 ; 14 จังหวัดภาคใต้ และบางส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
  • มลายูปัตตานี: 3,100,000 : ยะลา ปัตตานี นราธิวาส และบางส่วนของจังหวัดสงขลา 2,600,000 คน พูดในกรุงเทพและที่อื่น ราว 500,000 คน
  • เขมร : 2,000,000  : สุรินทร์, ศรีสะเกษ, บุรีรัมย์, ฉะเชิงเทรา, สระแก้ว, ตราด, ร้อยเอ็ด, อุบลราชธานี, ราชบุรี, กรุงเทพมหานคร, จันทบุรี, ตราด
  • ภาษาไทยโคราช:ประมาณ 2,000,000 :นครราชสีมา และบางส่วนของจังหวัด สระบุรี ลพบุรี เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ บุรีรัมย์
  • จีนแต้จิ๋ว : 1,081,920
  • ภาษากวย (ส่วย) : 300,000 : สุรินทร์, บุรีรัมย์, ศรีสะเกษ, อุบลราชธานี, ร้อยเอ็ด
  • ภาษากะเหรี่ยงสะกอ : 300,000 : กาญจนบุรี,ตาก, แม่ฮ่องสอน, เชียงใหม่, เชียงราย
  • ผู้ไท : 156,000 : กาฬสินธุ์, นครพนม, มุกดาหาร , สกลนคร, อุบลราชธานี และ อุดรธานี
  • มอญ : 107,630 : กาญจนบุรี,ปทุมธานี, สมุทรสาคร, ราชบุรี, ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, ลพบุรี, นครราชสีมา, นนทบุรี, กรุงเทพฯ, อุทัยธานี, ฉะเชิงเทรา, นครปฐม, ลำพูน
  • ภาษากะยาตะวันออก : 98,642 : แม่ฮ่องสอน
  • ภาษาพวน : 98,605 : อุทัยธานี, พิจิตร, เพชรบูรณ์, ลพบุรี, สิงห์บุรี, สุพรรณบุรี, สระบุรี, นครนายก, ปราจีนบุรี, อุดรธานี, เลย
  • ภาษาไทลื้อ : 83,000 : เชียงราย, พะเยา, ลำพูน, น่าน
  • ภาษาไทใหญ่ : 60,000 : เชียงราย, เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน, ตาก
  • ภาษาอะข่า (อีก้อ) : 60,000 : เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน
  • ภาษากะเหรี่ยงโปเหนือ : 60,000 : แม่ฮ่องสอน, เชียงใหม่
  • ภาษาจีนแคะ : 58,800 : ยะลา, สงขลา
  • ภาษาโส้: 58,000 : นครพนม, สกลนคร, หนองคาย, กาฬสินธุ์
  • ภาษากะเหรี่ยงโปตะวันตก : 50,000 : ตาก, อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี , ประจวบคีรีขันธ์
  • ภาษาไทญ้อ : 50,000 : สกลนคร, หนองคาย, นครพนม
  • ภาษาเย้า (เมี่ยน) :40,000 :เชียงใหม่, เชียงราย, พะเยา, ลำปาง, กำแพงเพชร, น่าน, สุโขทัย
  • ภาษาเปร 3 : 38,808 : น่าน
  • ภาษาม้งตะวันตก : 33,000 : ตาก, น่าน, เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน, เพชรบูรณ์, เชียงราย, พะเยา, แพร่, เลย, สุโขทัย, กำแพงเพชร, อุทัยธานี
  • ภาษาม้งขาว : 32,395 : เพชบูรณ์, ตาก, แม่ฮ่องสอน, เชียงใหม่, น่าน, เชียงราย, พิษณุโลก, เลย, สุโขทัย, กำแพงเพชร, แพร่, พะเยา, อุตรดิตถ์, ลำปาง
  • ภาษาโส้ง : 32,307 ; กาญจนบุรี, เพชรบุรี, พิษณุโลก, นครสวรรค์, นครปฐม, สุพรรณบุรี
  • ภาษาล่าหู่ (มูเซอ) : 32,000 : เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน , ลำปาง, ตาก
  • ภาษาขมุ: 31,403 : เชียงราย, น่าน, พะเยา
  • ภาษาไพ : 31,000 : น่าน
  • ภาษาจีนกวางตุ้ง : 29,400
  • ล่าหู่เหลือง : 20,000 : น่าน
  • บรู (ตะวันตก) : 20,000 : มุกดาหาร
  • ภาษาลีซอ (ลีซู) : 16,000 : เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน, ตาก, สุโขทัย, กำแพงเพชร
  • ภาษายอง : 12,561 ; เชียงราย เรียงใหม่ ลำพูน (คล้ายภาษาลื้อ)
  • ภาษาแสก : 11,000 : นครพนม, บางส่วนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ภาษาญัฮกุ้ร : 10,000 : นครราชสีมา, เพชรบูรณ์, ชัยภูมิ
  • ภาษาละว้า : 7,000 : เชียงใหม่, เชียงราย
  • ละว้าตะวันตก, 7,000 : เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน
  • ภาษาไทเขิน : 6,281 : เชียงราย, เชียงใหม่
  • ลัวะ : 6,281 : น่าน
  • จีนกลาง : 5,880
  • ภาษาบรู (ตะวันออก): 5,000 : สกลนคร
  • ภาษาโย้ย : 5,000 คน ; สกลนคร
  • ภาษาปาเล : 5,000
  • ภาษามัล : 3,000 - 4,000 : น่าน
  • ภาษาจาม : 4,000 : ปัตตานี, ยะลา, นราธิวาส, ตราด, ระยอง, กรุงเทพฯ
  • ภาษาอูรักลาโว้ย : 3,000 ; ภูเก็ต และเกาะในทะเลอันดามัน
  • ภาษามอเกลน : 1,500 : ชายฝั่งตะวันตกของภาคใต้ ภูเก็ต, พังงา
  • ภาษามปี : 900 : แพร่, พะเยา
  • ภาษากะเหรี่ยงโป : 743 : แม่ฮ่องสอน
  • ภาษาไทดำ : 700 : เลย
  • ภาษาชอง : 500 : จันทบุรี, ตราด
  • ภาษาตองงา : 300 พัทลุง, ตรัง
  • ภาษาซาไก : 300 : ยะลา, พัทลุง, สตูล, นราธิวาส, ชายแดนไทยมาเลเซีย
  • ภาษามลาบรี (ตองเหลือง) : 300 : น่าน, พะเยา, แพร่, อุตรดิตถ์, พิษณุโลก, เลย
  • ภาษาเยอ : 200 ศรีสะเกษ
  • ภาษาอูกง (Ugong) : 80 ; กาญจนบุรี, อุทัยธานี, สุพรรณบุรี
  • ภาษาม๊อก : 7 : เชียงใหม่
  • ภาษาไทแอ่ : พิษณุโลก
  • ภาษามุง : เชียงราย
  • ภาษามอแกน : ชายฝั่งตะวันตกของภาคใต้ ภูเก็ต พังงา, กระบี่, ระนอง
  • ภาษาเขมรลาวเดิม : ราชบุรี
  • ภาษามลายูถิ่นสตูล : สตูล
  • ภาษามลายูถิ่นนครศรีธรรมราช : ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอท่าศาลา นครศรีธรรมราช
  • ภาษามลายูบางกอก : กรุงเทพฯ, นนทบุรี, ปทุมธานี
  • ภาษาเจ๊ะเห : นราธิวาส, ปัตตานี

 ຖ້າລວມອີສານ ແລະ ລາວປັດຈຸບັນເຂົ້າກັນ ມັນກະຕົກຢູ່ປະມານ 20 ກ່ວາລ້ານພຸ້ນໃດນໍ....ເຮີ! ເຊື່ອສາຍລາວຖືວ່າບໍ່ແມ່ນໜ້ອຍໆ ຖືວ່າເປັນກຸ່ມຄົນສ່ວນໃຫຍ່ຢູ່ໃນຂົງເຂດນີ້ແທ້ໆ



__________________


Guru

Status: Offline
Posts: 1010
Date:

ຖ້າເວົ້າແຕ່ເຊື້ອຊາດ ອີ່ສານຄືລາວ  ໄທຄືໄທ

ຖ້າເວົ້າໃນນາມປະເທດ ອີ່ສານຄືໄທ

ຄົນໄທສ່ວນຫລາຍຍັງຄິດວ່າ ຝຮັ່ງມາແບ່ງຝັ່ງຂວາແມ່ນ້ຳຂອງຈາກໄທຢູ່

ບາງຄັ້ງປື້ມປະຫວັດສາດກໍ່ຕົວະຄົນໄດ້



__________________
Anonymous

Date:

ເຊີນມາ​ຟັງ​ລຳຜູ້ໄທບ້ານຂ້ອຍທີ່ເມືອງນານ້ອຍອ້ອຍໜູເໜີ້



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ເຊີນມາ​ຟັງ​ລຳຜູ້ໄທບ້ານຂ້ອຍທີ່ເມືອງນານ້ອຍອ້ອຍໜູເໜີ້


 Sounds more Vietnamese.



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ลาวพวน  555+ บ้านทุ่งโฮ้ง  แพร่ 


 แล้วลาวพวนนี่ สปป.ล อยู่แขวงไหน ต้นตำรับลาวพวน



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

ลาวพวน  555+ บ้านทุ่งโฮ้ง  แพร่ 


 แล้วลาวพวนนี่ สปป.ล อยู่แขวงไหน ต้นตำรับลาวพวน


 ຊຽງຂວາງ



__________________
Anonymous

Date:

เลย - เด็กต่างด้าวเรียนดีแต่ขาดโอกาส วอนขอสัญชาติไทยเป็นของขวัญวันเด็ก แต่ทางการบอก มีสิทธิ์แค่เรียนต่อได้
       
       ที่โรงเรียนบ้านน้ำแคม อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย ชายแดนไทย-ลาว มีเด็กนักเรียนจำนวนหนึ่งที่ยังไม่ได้รับสัญชาติไทยเนื่องจากพ่อแม่หรือปู่ย่า ตายายอพยพจาก สปป.ลาว เข้ามาตั้งรกรากในตำบลน้ำแคม ตั้งแต่ช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อประมาณปี 2517 – 2520 ซึ่งเด็ก ๆ เหล่านี้หลายคนที่มีผลการเรียนดี แต่ไม่มีโอกาสได้เรียนต่อเนื่องจากมีฐานะยากจน และไม่มีสถานะเป็นพลเมืองไทย
       
       อย่างเช่นกรณี ด.ญ.หม่า สูนดารา นักเรียนชั้น ม.1 ที่พ่อแม่หอบหิ้วครอบครัวมาอยู่ที่บ้านน้ำแคม อำเภอท่าลี่ ตั้งแต่ปี 2537 พร้อมกับพี่ชายกับพี่สาว ครั้งนั้น ด.ญ.หม่าอายุเพียง 1 ขวบ
       
       พออายุถึงเกณฑ์เข้าโรงเรียน พ่อแม่ที่มีฐานะยากจน มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ไม่มีที่ดินเป็นของตัวเอง ก็ส่งน้องหม่าเข้าเรียนตามปกติ ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึง ป.6 น้องหม่าไม่ได้คิดว่าการเป็นคนต่างด้าวของตัวเองจะเป็นอุปสรรค แต่กลับทำให้มีความพยายามตั้งใจเรียนมากขึ้น จนมีผลการเรียนเป็นที่ 1 หรือที่ 2 ของห้องมาตลอด เกรดเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.7
       
       น้องหม่าเล่าทั้งน้ำตาอีกว่า เหตุที่ต้องตั้งใจเรียนเพราะครอบครัวไม่มีอะไร ไม่มีที่ดินทำกิน และไม่มีหลักประกันใดๆ ว่าเป็นคนสัญชาติไทย บางครั้งก็รู้สึกท้อแท้ เมื่อเพื่อนในห้องเรียนล้อว่าเป็นคนลาว
       
       ในวันเด็กปีนี้สิ่งที่อยากได้คือ อยากเรียนต่อให้จบปริญญาตรี และสอบเป็นครูให้ได้ เพราะอยากให้เด็กรุ่นหลังได้มีโอกาสเรียน ไม่อยากให้มีสภาพเหมือนตัวเอง
       
       ด้านนายณัฐวุฒิ เพร็ชพรหมศร นายอำเภอท่าลี่ กล่าวว่า เด็กกลุ่มนี้ ยังไม่มีสิทธิ์ที่จะเข้ามาเป็นพลเมืองไทยได้ เนื่องจากยังติด การเป็นบุคลต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง และยังไม่มีกฎหมายรับรองการเป็นประชาชนชาวไทย ส่วนด้านการศึกษานั้น คาดว่าจะสามารถ เรียนต่อถึงระดับปริญญาตรีได้



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

เลย - เด็กต่างด้าวเรียนดีแต่ขาดโอกาส วอนขอสัญชาติไทยเป็นของขวัญวันเด็ก แต่ทางการบอก มีสิทธิ์แค่เรียนต่อได้
       
       ที่โรงเรียนบ้านน้ำแคม อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย ชายแดนไทย-ลาว มีเด็กนักเรียนจำนวนหนึ่งที่ยังไม่ได้รับสัญชาติไทยเนื่องจากพ่อแม่หรือปู่ย่า ตายายอพยพจาก สปป.ลาว เข้ามาตั้งรกรากในตำบลน้ำแคม ตั้งแต่ช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อประมาณปี 2517 – 2520 ซึ่งเด็ก ๆ เหล่านี้หลายคนที่มีผลการเรียนดี แต่ไม่มีโอกาสได้เรียนต่อเนื่องจากมีฐานะยากจน และไม่มีสถานะเป็นพลเมืองไทย
       
       อย่างเช่นกรณี ด.ญ.หม่า สูนดารา นักเรียนชั้น ม.1 ที่พ่อแม่หอบหิ้วครอบครัวมาอยู่ที่บ้านน้ำแคม อำเภอท่าลี่ ตั้งแต่ปี 2537 พร้อมกับพี่ชายกับพี่สาว ครั้งนั้น ด.ญ.หม่าอายุเพียง 1 ขวบ
       
       พออายุถึงเกณฑ์เข้าโรงเรียน พ่อแม่ที่มีฐานะยากจน มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ไม่มีที่ดินเป็นของตัวเอง ก็ส่งน้องหม่าเข้าเรียนตามปกติ ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึง ป.6 น้องหม่าไม่ได้คิดว่าการเป็นคนต่างด้าวของตัวเองจะเป็นอุปสรรค แต่กลับทำให้มีความพยายามตั้งใจเรียนมากขึ้น จนมีผลการเรียนเป็นที่ 1 หรือที่ 2 ของห้องมาตลอด เกรดเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.7
       
       น้องหม่าเล่าทั้งน้ำตาอีกว่า เหตุที่ต้องตั้งใจเรียนเพราะครอบครัวไม่มีอะไร ไม่มีที่ดินทำกิน และไม่มีหลักประกันใดๆ ว่าเป็นคนสัญชาติไทย บางครั้งก็รู้สึกท้อแท้ เมื่อเพื่อนในห้องเรียนล้อว่าเป็นคนลาว
       
       ในวันเด็กปีนี้สิ่งที่อยากได้คือ อยากเรียนต่อให้จบปริญญาตรี และสอบเป็นครูให้ได้ เพราะอยากให้เด็กรุ่นหลังได้มีโอกาสเรียน ไม่อยากให้มีสภาพเหมือนตัวเอง
       
       ด้านนายณัฐวุฒิ เพร็ชพรหมศร นายอำเภอท่าลี่ กล่าวว่า เด็กกลุ่มนี้ ยังไม่มีสิทธิ์ที่จะเข้ามาเป็นพลเมืองไทยได้ เนื่องจากยังติด การเป็นบุคลต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง และยังไม่มีกฎหมายรับรองการเป็นประชาชนชาวไทย ส่วนด้านการศึกษานั้น คาดว่าจะสามารถ เรียนต่อถึงระดับปริญญาตรีได้


 ເປັນເລື່ອງລາວໜ້າເສົ້າທີ່ສຸດເມື່ອ່ານເບິ່ງແລ້ວເໝືອນກັບວ່າເທວະດາຟ້າດິນກັ່ນແກ້ງ. ບໍ່ໄດ້ມີແຕ່ຢູ່ຈັງຫວັດເລີຍບ່ອນດຽວ

ທີ່ລູຫລານຊາວລາວພະເຊີນກັບບັນຫາແບບດຽວກັນນີ້, ຢູ່ທີ່ຈັງຫວັດໜອງຄາຍ, ບຶງການ, ນະຕອນພະນົມ ແລະ ອູບົນ ກໍມີ

ເຫດການແບບນີ້ເກີດຂຶ້ນກັບລູກຫລານຊາວອົພະຍົບລາວທີ່ໜີອອກຈາກປະເທດລາວແຕ່ປີ 1975-80 ພຸ້ນ.   ສ່ວນຫລາຍ

ລູຫລານຊາວລາວອົພະຍົບເຫຼົ່ານັ້ນໄດ້ເກີດຢູ່ໃນປະເທດໄທບົນຜືນແຜ່ນດິນໄທ ຄວນທີ່ຈະໄດ້ຮັບການເປັນສັນຊາດໄທແລະມີສິດ

ທຽບເທົ່າກັບປະຊາຊົນໄທທົ່ວໆໄປ, ແຕ່ກົງກັນຂ້າມ ພວກເຂົາຍັງຢູ່ໃນສະພາບຄົນຕ່າງດ້າວເໝືອນກັນກັບພໍ່ແມ່ຟູ່ຍ່າຕາຍາຍ

ຂອງເຂົາ. ແລະເຫດການນີ້ໄດ້ແຜ່ລາວໄປເຖິງຍາດພີ່ນ້ອງຄົນລາວຢູ່ຕ່າງປະເທດ ແລະໃນທີ່ສຸດພວກພີ່ນ້ອງຂອງເຂົາທີ່ຢູ່ຕ່າງປະ

ເທດກໍພາກັນຍື່ນສານເຖິງທູດໄທປະຈະສະຫະປະຊາຊາດ ເພື່ອຮຽກຮ້ອງສິດທິຄວາມເປັນສັນຊາດໄທໃຫ້ຜູ່ທີ່ເກີດຢູ່ໄທໃຫ້ທຽບເທົ່າ

ກັບປະຊາຊົນໄທທົ່ວໆໄປ, ແລະໃນທີ່ສຸດບັນຫາກໍໄດ້ລຸລ່ວງໄປດ້ວຍດີແລະພວກຄົນລາວເຫຼົ່ານັ້ນກໍເປັນສັນຊາດໄທໄປທັງຜູ່ທີ່ເກີດ

ຢູ່ໄທແລະພໍ່ແມ່ປູ່ຍ່າຕາຍາຍຂອງເຂົາ.

ດັ່ງນັ້ນຄວາມສຳພັນແລະເປັນສາຍເລືອດລາວລະຫວ່າງລາວສອງຝາກຝັ່ງແມ່ນ້ຳຂອງຈະບໍ່ມີວັນເຫືອດແຫ້ງເໝືນນດັ່ງສາຍນ້ຳ

ຂອງແມ່ນ້ຳຂອງທີ່ເປັນສາຍສາຍໃຈຂອງລາວສອງຝັ່ງ. ລາວໄທ ຂ້າກັນບໍ່ໄດ້ ລາວໄທ ຊັງກັນບໍ່ໄດ້ ລາວໄທເປັນພີ່ນ້ອງກັນແລະ

ບໍ່ມີໃຜສາມາດມາແຍກສາຍສຳພັນຂອງລາວງແລະໄທອອກຈາກກັນບໍ່ໄດ້. ຂອບໃຈທີ່ໄນຫລວງພ້ອມດ້ວຍປະຊາຊົນໄທທີ່ໃຫ້ຄວາມ

ຊ່ວຍເຫຼືອລາວແລະດູແລປະຊາຊົນລາວມາໂດຍຕະຫລອດ. ມີແຕ່ຄົນບໍ່ມີແວວໃນຕາເທົ່ານັ້ນທີ່ບໍ່ຮູ້ບຸນຄຸນຂອງໄນຫລວງແລະປະຊາ

ຊົນໄທທີ່ມີຕໍ່ຄົນລາວ.

 



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

เลย - เด็กต่างด้าวเรียนดีแต่ขาดโอกาส วอนขอสัญชาติไทยเป็นของขวัญวันเด็ก แต่ทางการบอก มีสิทธิ์แค่เรียนต่อได้
       
       ที่โรงเรียนบ้านน้ำแคม อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย ชายแดนไทย-ลาว มีเด็กนักเรียนจำนวนหนึ่งที่ยังไม่ได้รับสัญชาติไทยเนื่องจากพ่อแม่หรือปู่ย่า ตายายอพยพจาก สปป.ลาว เข้ามาตั้งรกรากในตำบลน้ำแคม ตั้งแต่ช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อประมาณปี 2517 – 2520 ซึ่งเด็ก ๆ เหล่านี้หลายคนที่มีผลการเรียนดี แต่ไม่มีโอกาสได้เรียนต่อเนื่องจากมีฐานะยากจน และไม่มีสถานะเป็นพลเมืองไทย
       
       อย่างเช่นกรณี ด.ญ.หม่า สูนดารา นักเรียนชั้น ม.1 ที่พ่อแม่หอบหิ้วครอบครัวมาอยู่ที่บ้านน้ำแคม อำเภอท่าลี่ ตั้งแต่ปี 2537 พร้อมกับพี่ชายกับพี่สาว ครั้งนั้น ด.ญ.หม่าอายุเพียง 1 ขวบ
       
       พออายุถึงเกณฑ์เข้าโรงเรียน พ่อแม่ที่มีฐานะยากจน มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ไม่มีที่ดินเป็นของตัวเอง ก็ส่งน้องหม่าเข้าเรียนตามปกติ ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึง ป.6 น้องหม่าไม่ได้คิดว่าการเป็นคนต่างด้าวของตัวเองจะเป็นอุปสรรค แต่กลับทำให้มีความพยายามตั้งใจเรียนมากขึ้น จนมีผลการเรียนเป็นที่ 1 หรือที่ 2 ของห้องมาตลอด เกรดเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.7
       
       น้องหม่าเล่าทั้งน้ำตาอีกว่า เหตุที่ต้องตั้งใจเรียนเพราะครอบครัวไม่มีอะไร ไม่มีที่ดินทำกิน และไม่มีหลักประกันใดๆ ว่าเป็นคนสัญชาติไทย บางครั้งก็รู้สึกท้อแท้ เมื่อเพื่อนในห้องเรียนล้อว่าเป็นคนลาว
       
       ในวันเด็กปีนี้สิ่งที่อยากได้คือ อยากเรียนต่อให้จบปริญญาตรี และสอบเป็นครูให้ได้ เพราะอยากให้เด็กรุ่นหลังได้มีโอกาสเรียน ไม่อยากให้มีสภาพเหมือนตัวเอง
       
       ด้านนายณัฐวุฒิ เพร็ชพรหมศร นายอำเภอท่าลี่ กล่าวว่า เด็กกลุ่มนี้ ยังไม่มีสิทธิ์ที่จะเข้ามาเป็นพลเมืองไทยได้ เนื่องจากยังติด การเป็นบุคลต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง และยังไม่มีกฎหมายรับรองการเป็นประชาชนชาวไทย ส่วนด้านการศึกษานั้น คาดว่าจะสามารถ เรียนต่อถึงระดับปริญญาตรีได้


 ເປັນເລື່ອງລາວໜ້າເສົ້າທີ່ສຸດເມື່ອ່ານເບິ່ງແລ້ວເໝືອນກັບວ່າເທວະດາຟ້າດິນກັ່ນແກ້ງ. ບໍ່ໄດ້ມີແຕ່ຢູ່ຈັງຫວັດເລີຍບ່ອນດຽວ

ທີ່ລູຫລານຊາວລາວພະເຊີນກັບບັນຫາແບບດຽວກັນນີ້, ຢູ່ທີ່ຈັງຫວັດໜອງຄາຍ, ບຶງການ, ນະຕອນພະນົມ ແລະ ອູບົນ ກໍມີ

ເຫດການແບບນີ້ເກີດຂຶ້ນກັບລູກຫລານຊາວອົພະຍົບລາວທີ່ໜີອອກຈາກປະເທດລາວແຕ່ປີ 1975-80 ພຸ້ນ.   ສ່ວນຫລາຍ

ລູຫລານຊາວລາວອົພະຍົບເຫຼົ່ານັ້ນໄດ້ເກີດຢູ່ໃນປະເທດໄທບົນຜືນແຜ່ນດິນໄທ ຄວນທີ່ຈະໄດ້ຮັບການເປັນສັນຊາດໄທແລະມີສິດ

ທຽບເທົ່າກັບປະຊາຊົນໄທທົ່ວໆໄປ, ແຕ່ກົງກັນຂ້າມ ພວກເຂົາຍັງຢູ່ໃນສະພາບຄົນຕ່າງດ້າວເໝືອນກັນກັບພໍ່ແມ່ຟູ່ຍ່າຕາຍາຍ

ຂອງເຂົາ. ແລະເຫດການນີ້ໄດ້ແຜ່ລາວໄປເຖິງຍາດພີ່ນ້ອງຄົນລາວຢູ່ຕ່າງປະເທດ ແລະໃນທີ່ສຸດພວກພີ່ນ້ອງຂອງເຂົາທີ່ຢູ່ຕ່າງປະ

ເທດກໍພາກັນຍື່ນສານເຖິງທູດໄທປະຈະສະຫະປະຊາຊາດ ເພື່ອຮຽກຮ້ອງສິດທິຄວາມເປັນສັນຊາດໄທໃຫ້ຜູ່ທີ່ເກີດຢູ່ໄທໃຫ້ທຽບເທົ່າ

ກັບປະຊາຊົນໄທທົ່ວໆໄປ, ແລະໃນທີ່ສຸດບັນຫາກໍໄດ້ລຸລ່ວງໄປດ້ວຍດີແລະພວກຄົນລາວເຫຼົ່ານັ້ນກໍເປັນສັນຊາດໄທໄປທັງຜູ່ທີ່ເກີດ

ຢູ່ໄທແລະພໍ່ແມ່ປູ່ຍ່າຕາຍາຍຂອງເຂົາ.

ດັ່ງນັ້ນຄວາມສຳພັນແລະເປັນສາຍເລືອດລາວລະຫວ່າງລາວສອງຝາກຝັ່ງແມ່ນ້ຳຂອງຈະບໍ່ມີວັນເຫືອດແຫ້ງເໝືນນດັ່ງສາຍນ້ຳ

ຂອງແມ່ນ້ຳຂອງທີ່ເປັນສາຍສາຍໃຈຂອງລາວສອງຝັ່ງ. ລາວໄທ ຂ້າກັນບໍ່ໄດ້ ລາວໄທ ຊັງກັນບໍ່ໄດ້ ລາວໄທເປັນພີ່ນ້ອງກັນແລະ

ບໍ່ມີໃຜສາມາດມາແຍກສາຍສຳພັນຂອງລາວງແລະໄທອອກຈາກກັນບໍ່ໄດ້. ຂອບໃຈທີ່ໄນຫລວງພ້ອມດ້ວຍປະຊາຊົນໄທທີ່ໃຫ້ຄວາມ

ຊ່ວຍເຫຼືອລາວແລະດູແລປະຊາຊົນລາວມາໂດຍຕະຫລອດ. ມີແຕ່ຄົນບໍ່ມີແວວໃນຕາເທົ່ານັ້ນທີ່ບໍ່ຮູ້ບຸນຄຸນຂອງໄນຫລວງແລະປະຊາ

ຊົນໄທທີ່ມີຕໍ່ຄົນລາວ.

 


 ปัจจุบันนี้รัฐบาลไทยได้มอบสัญชาติไทยให้กับลูกหลานลาวที่อยู่ตามชายแดนไทยลาวแล้ว

จำนวนมาก และยังไม่ได้รับอีกก็จำนวนมาก เนื่องจากมันติดตรงข้อกฏหมาย พรบ.สัญชาติ

คือเด็กที่เกิดในราชอาณาจักรไทยต้องได้รับสัญชาติไทยตามหลักดินแดน แต่พ่อแม่ต้องเข้าเมือง

โดยถูกต้องตามกฎหมาย ประเทศลาวในช่วงปี 1975 มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทำให้

ชาวลาวหนีสงครามเข้ามาในไทยจำนวนมาก ส่วนใหญ่แล้วแอบข้ามโขงเข้ามาโดยไม่ถูกต้อง

ทำให้ทางการไทยไม่มีข้อมูลทางทะเบียนราษฎร์ เด็กที่เกิดมาจึงไม่มีหลักฐานที่มาที่ไป

รัฐบาลไทยจึงไม่สามารถให้สัญชาติได้ ปัจจุบันนี้รัฐบาลก็พยายามแก้ไขอยู่



__________________
Anonymous

Date:

ຂ້ອຍຢູ່ບໍລິຄຳໄຊ ແຕ່ໄທບ້ານຂ້ອຍປາກອອກທາງໄທຍໍ້ຫຼາຍກວ່າ : ໄປກະເລີ ມາແຕ່ກະເລີ ແມ່ນເຜີ? ເອັດພິເລີຢູ່.........



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ຂ້ອຍຢູ່ບໍລິຄຳໄຊ ແຕ່ໄທບ້ານຂ້ອຍປາກອອກທາງໄທຍໍ້ຫຼາຍກວ່າ : ໄປກະເລີ ມາແຕ່ກະເລີ ແມ່ນເຜີ? ເອັດພິເລີຢູ່.........


 ไปกะเหลอ มาแต่กะเหลอ  เฮ็ดพิเหลอ แม่นเผ๋อ นั้นมันภาษาภูไท เด้อ

ภาษาย้อ ต้องแนวนี้  ไประเบ๋อ  มาระเบ๋อ ไปไส แนวนี้



__________________
Anonymous

Date:

มั่วเลยครับ ผมก็อยู่ภาคอีสาน จังหวัดนครราชสีมา แต่ประชากรส่วนใหญ่ พูดกลางน่ะครับ

ผมก็พูด อีสานไม่ได้ ผมไปโรงเรียน หาคนพูดอีสานไม่ค่ยมี ส่วนมากพูดกลาง นอกจากต่างๆอำเภอๆไกลๆ อ่ะที่พูดอีสาน



__________________
Anonymous

Date:

 ໄປກະເລີ ມາແຕ່ກະເລີ

ลาวพวน คนทุ่งโฮ้งก็พูดแบบนี้นะ ไปกะเหลอ มาแต่กะเหลอ



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

ຂ້ອຍຢູ່ບໍລິຄຳໄຊ ແຕ່ໄທບ້ານຂ້ອຍປາກອອກທາງໄທຍໍ້ຫຼາຍກວ່າ : ໄປກະເລີ ມາແຕ່ກະເລີ ແມ່ນເຜີ? ເອັດພິເລີຢູ່.........


 ไปกะเหลอ มาแต่กะเหลอ  เฮ็ดพิเหลอ แม่นเผ๋อ นั้นมันภาษาภูไท เด้อ

ภาษาย้อ ต้องแนวนี้  ไประเบ๋อ  มาระเบ๋อ ไปไส แนวนี้


 ບໍຮູ້ແລ່ວເດີ້! ໜອງສາມານ, ທົ່ງຫວ້ານ ບ້ານເຫຼົ່າ ບ້ານບົງ... ແຖວນັ້ນເຂົາກະເວົ້າລັກສະນະນີ້ແລ່ວ (ຫຼື ມັນອາດຈະພ້ຽນປົນພາສາພູໄທແລ້ວ)

ຄົ້ນຕາມການຈົດແຕ້ມຂອງ ອໍ້ຕູ້ ແມ່ຕູ້ຂ້ອຍ ກາແມ່ນ ຍໍ້ (ເຜົ່າຍໍ້) ດາກແດງ ຄັກໆ



__________________
Page 1 of 1  sorted by
Quick Reply

Please log in to post quick replies.



Create your own FREE Forum
Report Abuse
Powered by ActiveBoard