ພະເຈົ້າຟ້າງຸຸ່ມຍົກທັບມາໃກ້ເມືອງຊຽງທອງແລ້ວ
ພວກທ່ານຮູ້ບໍ່ວ່າ ຈິນຊີຮ່ອງເຕ້ ຕອນນີ້ໄດ້ເກນຊາວບ້ານໄປສ້າງກຳແພງໃຫຍ່
Anonymous wrote:ลาวยืดอกแถลง เวียงจันทน์เหลือคนจนไม่ถึง 100 ครัวเรือน ผู้ขับขี่ยวดยานจอดรอสัญญาณ "ไฟอำนาจ" ที่แยกถนนเจ้าอนุ เลียบฝั่งแม่น้ำโขงในภาพวันที่ 4 พ.ค.2555 หรือเมื่อ 1 ปีก่อน เศรษฐกิจโดยรวมของลาวขยายตัวเฉลี่ย 8% ต่อปีตลอดหลายปีมานี้ และ 12% สำหรับเมืองหลวงซึ่งรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรต่อปี 1,700 ดอลลาร์ สูงกว่าประชากรทุกแขวง ทางการประกาศอย่างผ่าเผยเมื่อต้นเดือนนี้ ในปัจจุบันประชากรยากจนในนครเวียงจันทน์เหลืออยู่เพียง 86 ครอบครัวเท่านั้น. -- AFP Photo/Roslan Rahman. . ปัจจุบันในเมืองหลวงของลาว มีประชาชนที่ยากจนเหลืออยู่เพียง 86 ครอบครัวเท่านั้น อันเป็นผลงานในความพยายามกำจัดความทุกข์ยากกับการลงทุนพัฒนาเขตชนบทของรัฐ มีการเปิดเผยตัวเลขสถิติต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ระหว่างการประชุมสภาแห่งชาติวันที่ 2-3 พ.ค.ที่ผ่านมา นายวิไซ ซาวันนา หัวหน้าแผนกแผนการและการลงทุนของเมืองหลวงเป็นผู้รายงานเรื่องนี้ โดยระบุว่า คนยากจนที่เหลืออยู่คิดเป็นเพียง 0.04% ของชาวเมืองหลวงทั้งหมดที่มีอยู่ทั้งหมด 201,209 ครัวเรือน ทางการได้แก้ไขปัญหาด้วยการจัดสรรที่ทำกินสำหรับราษฎรยากจน ลงทุนเพื่อสร้างงาน และแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด จัดภูมิลำเนาให้มีที่อยู่อาศัย และแก้ไขปัญหาไม่มีงานทำในเขตชนบท สำนักข่าวสารปะเทดลาวรายงาน ในย่านใจกลางเมืองหลวงมีครอบครัวยากจนเหลืออยู่น้อยที่สุดคือ เขตเมืองจันทะบูลีเหลืออยู่เพียง 6 ครอบครัว เมืองไซเสดถา 7 ครอบครัว และเมืองไซทานีซึ่งครอบคลุมถึงย่านรอบนอกและชานเมืองเหลืออยู่ 37 ครอบครัว ไกลออกไปในเขตเมืองปากงึมมี 12 ครอบครัว กับเมืองสังทองซึ่งเป็นท้องถิ่นห่างไกลที่สุดจากใจกลางนครหลวงมีอยู่ 24 ครอบครัว ขปล.กล่าว อย่างไรก็ตามสำนักข่าวของทางการไม่ได้กล่าวถึงเกณฑ์ที่ใช้ชี้วัดขีดความยากจนของลาว รวมทั้งไม่ได้กล่าวถึงตัวเลขรายได้ต่อหัวประชากรต่อปีที่เป็นปัจจุบันของชาวเมืองหลวง ตามรายงานการปฏิบัติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประจำปี 2551 ที่เผยแพร่ในต้นปีถัดมา รายได้เฉลี่ยต่อหัวของชาวนครเวียงจันทน์ราว 5 แสนคน เพิ่มขึ้นเป็น 1,613 ดอลลาร์ คิดเป็นอัตราเพิ่ม 24.13% เทียบกับ 1,300 ดอลลาร์เมื่อ 3 ปีก่อนหน้านั้น มติของพรรคประชาชนปฏิวัติลาวที่ออกระหว่างการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 9 เดือน มี.ค.2554 ได้ตั้งเป้าการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 8% ต่อปีตลอดเวลา 5 ปีข้างหน้า และรายได้เฉลี่ยต่อหัวของชาวลาวทั้งประเทศเพิ่มขึ้นเป็น 1,700 ดอลลาร์ในปี 2558 ในปีเดียวกันนั้นทั่วทั้งประเทศจะต้องมีครอบครัวยากจนเหลืออยู่ไม่เกิน 10% ของทั้งหมด.
ໄຫ້ຄອບຄົວບັນດາຜູ່ຮັບຈ້າງຂົນຂີ້ຂະຍະອອກຈາກຕົວເມືອງວຽງຈັນແດ່
ພວກເຂົາເຈົ້າຄືຍັງທຸກຈົນແທ້ ຂພຈ ພວກເຂົາເຫັນເກັບກຳທ້ອນໂຮມເອົາຂີຂະຍະ
ທີ່ສາມາດຂາຍໄດ້ ໄປຂາຍເພື່ອຈະໄດ້ຊື້ເຂົ້າກີໂລເມືອລ້ຽງຄອບຄົວ ຢ່າໄປເຊື່ອຄວາມ
ໂຄສະນາຂອງທາງການເຂົາ ພວກນີ້ເຂົາບໍມີສະໝອງ
ແມ່ນແທ້ ເພາະຄົນທຸກ ຖືກໄລ່ທີ່ ໃຫ້ໄປຢູ່ບ້ານນອກ ເພື່ອເອົາດິນໃຫ້ນາຍທຶນຈີນ - ນາຍທຶນຫວຽດ. ຊົມເຊີຍຜົນງານອັນຍິ່ງໃຫຍ່
Anonymous wrote:Anonymous wrote:ลาวยืดอกแถลง เวียงจันทน์เหลือคนจนไม่ถึง 100 ครัวเรือน ผู้ขับขี่ยวดยานจอดรอสัญญาณ "ไฟอำนาจ" ที่แยกถนนเจ้าอนุ เลียบฝั่งแม่น้ำโขงในภาพวันที่ 4 พ.ค.2555 หรือเมื่อ 1 ปีก่อน เศรษฐกิจโดยรวมของลาวขยายตัวเฉลี่ย 8% ต่อปีตลอดหลายปีมานี้ และ 12% สำหรับเมืองหลวงซึ่งรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรต่อปี 1,700 ดอลลาร์ สูงกว่าประชากรทุกแขวง ทางการประกาศอย่างผ่าเผยเมื่อต้นเดือนนี้ ในปัจจุบันประชากรยากจนในนครเวียงจันทน์เหลืออยู่เพียง 86 ครอบครัวเท่านั้น. -- AFP Photo/Roslan Rahman. . ปัจจุบันในเมืองหลวงของลาว มีประชาชนที่ยากจนเหลืออยู่เพียง 86 ครอบครัวเท่านั้น อันเป็นผลงานในความพยายามกำจัดความทุกข์ยากกับการลงทุนพัฒนาเขตชนบทของรัฐ มีการเปิดเผยตัวเลขสถิติต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ระหว่างการประชุมสภาแห่งชาติวันที่ 2-3 พ.ค.ที่ผ่านมา นายวิไซ ซาวันนา หัวหน้าแผนกแผนการและการลงทุนของเมืองหลวงเป็นผู้รายงานเรื่องนี้ โดยระบุว่า คนยากจนที่เหลืออยู่คิดเป็นเพียง 0.04% ของชาวเมืองหลวงทั้งหมดที่มีอยู่ทั้งหมด 201,209 ครัวเรือน ทางการได้แก้ไขปัญหาด้วยการจัดสรรที่ทำกินสำหรับราษฎรยากจน ลงทุนเพื่อสร้างงาน และแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด จัดภูมิลำเนาให้มีที่อยู่อาศัย และแก้ไขปัญหาไม่มีงานทำในเขตชนบท สำนักข่าวสารปะเทดลาวรายงาน ในย่านใจกลางเมืองหลวงมีครอบครัวยากจนเหลืออยู่น้อยที่สุดคือ เขตเมืองจันทะบูลีเหลืออยู่เพียง 6 ครอบครัว เมืองไซเสดถา 7 ครอบครัว และเมืองไซทานีซึ่งครอบคลุมถึงย่านรอบนอกและชานเมืองเหลืออยู่ 37 ครอบครัว ไกลออกไปในเขตเมืองปากงึมมี 12 ครอบครัว กับเมืองสังทองซึ่งเป็นท้องถิ่นห่างไกลที่สุดจากใจกลางนครหลวงมีอยู่ 24 ครอบครัว ขปล.กล่าว อย่างไรก็ตามสำนักข่าวของทางการไม่ได้กล่าวถึงเกณฑ์ที่ใช้ชี้วัดขีดความยากจนของลาว รวมทั้งไม่ได้กล่าวถึงตัวเลขรายได้ต่อหัวประชากรต่อปีที่เป็นปัจจุบันของชาวเมืองหลวง ตามรายงานการปฏิบัติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประจำปี 2551 ที่เผยแพร่ในต้นปีถัดมา รายได้เฉลี่ยต่อหัวของชาวนครเวียงจันทน์ราว 5 แสนคน เพิ่มขึ้นเป็น 1,613 ดอลลาร์ คิดเป็นอัตราเพิ่ม 24.13% เทียบกับ 1,300 ดอลลาร์เมื่อ 3 ปีก่อนหน้านั้น มติของพรรคประชาชนปฏิวัติลาวที่ออกระหว่างการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 9 เดือน มี.ค.2554 ได้ตั้งเป้าการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 8% ต่อปีตลอดเวลา 5 ปีข้างหน้า และรายได้เฉลี่ยต่อหัวของชาวลาวทั้งประเทศเพิ่มขึ้นเป็น 1,700 ดอลลาร์ในปี 2558 ในปีเดียวกันนั้นทั่วทั้งประเทศจะต้องมีครอบครัวยากจนเหลืออยู่ไม่เกิน 10% ของทั้งหมด. ແມ່ນແທ້ ເພາະຄົນທຸກ ຖືກໄລ່ທີ່ ໃຫ້ໄປຢູ່ບ້ານນອກ ເພື່ອເອົາດິນໃຫ້ນາຍທຶນຈີນ - ນາຍທຶນຫວຽດ. ຊົມເຊີຍຜົນງານອັນຍິ່ງໃຫຍ່
ຄົນຣວຍຫ່າງມີ ມີແຕ່ ເຈັກ ກັບ ແກວ ລາວແທ້ໆ ໄດ້ເປັນແຕ່ຂີ້ຂ້າກັບ ກຳມະກອນ ຊົມເຊີຍຜົນງານອັນຍິ່ງໃຫຍ່
ໝາສີ້ໝາ wrote:Anonymous wrote:Anonymous wrote:ลาวยืดอกแถลง เวียงจันทน์เหลือคนจนไม่ถึง 100 ครัวเรือน ผู้ขับขี่ยวดยานจอดรอสัญญาณ "ไฟอำนาจ" ที่แยกถนนเจ้าอนุ เลียบฝั่งแม่น้ำโขงในภาพวันที่ 4 พ.ค.2555 หรือเมื่อ 1 ปีก่อน เศรษฐกิจโดยรวมของลาวขยายตัวเฉลี่ย 8% ต่อปีตลอดหลายปีมานี้ และ 12% สำหรับเมืองหลวงซึ่งรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรต่อปี 1,700 ดอลลาร์ สูงกว่าประชากรทุกแขวง ทางการประกาศอย่างผ่าเผยเมื่อต้นเดือนนี้ ในปัจจุบันประชากรยากจนในนครเวียงจันทน์เหลืออยู่เพียง 86 ครอบครัวเท่านั้น. -- AFP Photo/Roslan Rahman. . ปัจจุบันในเมืองหลวงของลาว มีประชาชนที่ยากจนเหลืออยู่เพียง 86 ครอบครัวเท่านั้น อันเป็นผลงานในความพยายามกำจัดความทุกข์ยากกับการลงทุนพัฒนาเขตชนบทของรัฐ มีการเปิดเผยตัวเลขสถิติต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ระหว่างการประชุมสภาแห่งชาติวันที่ 2-3 พ.ค.ที่ผ่านมา นายวิไซ ซาวันนา หัวหน้าแผนกแผนการและการลงทุนของเมืองหลวงเป็นผู้รายงานเรื่องนี้ โดยระบุว่า คนยากจนที่เหลืออยู่คิดเป็นเพียง 0.04% ของชาวเมืองหลวงทั้งหมดที่มีอยู่ทั้งหมด 201,209 ครัวเรือน ทางการได้แก้ไขปัญหาด้วยการจัดสรรที่ทำกินสำหรับราษฎรยากจน ลงทุนเพื่อสร้างงาน และแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด จัดภูมิลำเนาให้มีที่อยู่อาศัย และแก้ไขปัญหาไม่มีงานทำในเขตชนบท สำนักข่าวสารปะเทดลาวรายงาน ในย่านใจกลางเมืองหลวงมีครอบครัวยากจนเหลืออยู่น้อยที่สุดคือ เขตเมืองจันทะบูลีเหลืออยู่เพียง 6 ครอบครัว เมืองไซเสดถา 7 ครอบครัว และเมืองไซทานีซึ่งครอบคลุมถึงย่านรอบนอกและชานเมืองเหลืออยู่ 37 ครอบครัว ไกลออกไปในเขตเมืองปากงึมมี 12 ครอบครัว กับเมืองสังทองซึ่งเป็นท้องถิ่นห่างไกลที่สุดจากใจกลางนครหลวงมีอยู่ 24 ครอบครัว ขปล.กล่าว อย่างไรก็ตามสำนักข่าวของทางการไม่ได้กล่าวถึงเกณฑ์ที่ใช้ชี้วัดขีดความยากจนของลาว รวมทั้งไม่ได้กล่าวถึงตัวเลขรายได้ต่อหัวประชากรต่อปีที่เป็นปัจจุบันของชาวเมืองหลวง ตามรายงานการปฏิบัติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประจำปี 2551 ที่เผยแพร่ในต้นปีถัดมา รายได้เฉลี่ยต่อหัวของชาวนครเวียงจันทน์ราว 5 แสนคน เพิ่มขึ้นเป็น 1,613 ดอลลาร์ คิดเป็นอัตราเพิ่ม 24.13% เทียบกับ 1,300 ดอลลาร์เมื่อ 3 ปีก่อนหน้านั้น มติของพรรคประชาชนปฏิวัติลาวที่ออกระหว่างการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 9 เดือน มี.ค.2554 ได้ตั้งเป้าการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 8% ต่อปีตลอดเวลา 5 ปีข้างหน้า และรายได้เฉลี่ยต่อหัวของชาวลาวทั้งประเทศเพิ่มขึ้นเป็น 1,700 ดอลลาร์ในปี 2558 ในปีเดียวกันนั้นทั่วทั้งประเทศจะต้องมีครอบครัวยากจนเหลืออยู่ไม่เกิน 10% ของทั้งหมด. ແມ່ນແທ້ ເພາະຄົນທຸກ ຖືກໄລ່ທີ່ ໃຫ້ໄປຢູ່ບ້ານນອກ ເພື່ອເອົາດິນໃຫ້ນາຍທຶນຈີນ - ນາຍທຶນຫວຽດ. ຊົມເຊີຍຜົນງານອັນຍິ່ງໃຫຍ່ ຄົນຣວຍຫ່າງມີ ມີແຕ່ ເຈັກ ກັບ ແກວ ລາວແທ້ໆ ໄດ້ເປັນແຕ່ຂີ້ຂ້າກັບ ກຳມະກອນ ຊົມເຊີຍຜົນງານອັນຍິ່ງໃຫຍ່
ຮ່າໆໆໆໆໆແມ່ນໆໆໆໆໆໆໆໆໆໆ
ບ້ານເຮົາມີຜູ້ນຳທີ່ຊື່ສັດ ສຸຈະລິດ ສະຫຼາດສ່ອງໃສ ບໍ່ເຫັນແກ່ປະໂຫຍດສ່ວນຕົນ ແລະ ຕະກຸນພວກພ້ອງ ແລະ ບໍ່ເຄີຍເອົາປຽບປະຊາຊົນ.. ແລະ ປະເທດລາວເຮົາເປັນປະເທດທີ່ມີປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວມີສິດເສຣີພາບ ແລະ ມີຊີວິດການເປັນຢູ່ທີ່ດີ ແບບບໍ່ມີທີ່ຕິເລີຍ
Anonymous wrote:Anonymous wrote:ลาวยืดอกแถลง เวียงจันทน์เหลือคนจนไม่ถึง 100 ครัวเรือน ผู้ขับขี่ยวดยานจอดรอสัญญาณ "ไฟอำนาจ" ที่แยกถนนเจ้าอนุ เลียบฝั่งแม่น้ำโขงในภาพวันที่ 4 พ.ค.2555 หรือเมื่อ 1 ปีก่อน เศรษฐกิจโดยรวมของลาวขยายตัวเฉลี่ย 8% ต่อปีตลอดหลายปีมานี้ และ 12% สำหรับเมืองหลวงซึ่งรายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรต่อปี 1,700 ดอลลาร์ สูงกว่าประชากรทุกแขวง ทางการประกาศอย่างผ่าเผยเมื่อต้นเดือนนี้ ในปัจจุบันประชากรยากจนในนครเวียงจันทน์เหลืออยู่เพียง 86 ครอบครัวเท่านั้น. -- AFP Photo/Roslan Rahman. . ปัจจุบันในเมืองหลวงของลาว มีประชาชนที่ยากจนเหลืออยู่เพียง 86 ครอบครัวเท่านั้น อันเป็นผลงานในความพยายามกำจัดความทุกข์ยากกับการลงทุนพัฒนาเขตชนบทของรัฐ มีการเปิดเผยตัวเลขสถิติต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ระหว่างการประชุมสภาแห่งชาติวันที่ 2-3 พ.ค.ที่ผ่านมา นายวิไซ ซาวันนา หัวหน้าแผนกแผนการและการลงทุนของเมืองหลวงเป็นผู้รายงานเรื่องนี้ โดยระบุว่า คนยากจนที่เหลืออยู่คิดเป็นเพียง 0.04% ของชาวเมืองหลวงทั้งหมดที่มีอยู่ทั้งหมด 201,209 ครัวเรือน ทางการได้แก้ไขปัญหาด้วยการจัดสรรที่ทำกินสำหรับราษฎรยากจน ลงทุนเพื่อสร้างงาน และแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด จัดภูมิลำเนาให้มีที่อยู่อาศัย และแก้ไขปัญหาไม่มีงานทำในเขตชนบท สำนักข่าวสารปะเทดลาวรายงาน ในย่านใจกลางเมืองหลวงมีครอบครัวยากจนเหลืออยู่น้อยที่สุดคือ เขตเมืองจันทะบูลีเหลืออยู่เพียง 6 ครอบครัว เมืองไซเสดถา 7 ครอบครัว และเมืองไซทานีซึ่งครอบคลุมถึงย่านรอบนอกและชานเมืองเหลืออยู่ 37 ครอบครัว ไกลออกไปในเขตเมืองปากงึมมี 12 ครอบครัว กับเมืองสังทองซึ่งเป็นท้องถิ่นห่างไกลที่สุดจากใจกลางนครหลวงมีอยู่ 24 ครอบครัว ขปล.กล่าว อย่างไรก็ตามสำนักข่าวของทางการไม่ได้กล่าวถึงเกณฑ์ที่ใช้ชี้วัดขีดความยากจนของลาว รวมทั้งไม่ได้กล่าวถึงตัวเลขรายได้ต่อหัวประชากรต่อปีที่เป็นปัจจุบันของชาวเมืองหลวง ตามรายงานการปฏิบัติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประจำปี 2551 ที่เผยแพร่ในต้นปีถัดมา รายได้เฉลี่ยต่อหัวของชาวนครเวียงจันทน์ราว 5 แสนคน เพิ่มขึ้นเป็น 1,613 ดอลลาร์ คิดเป็นอัตราเพิ่ม 24.13% เทียบกับ 1,300 ดอลลาร์เมื่อ 3 ปีก่อนหน้านั้น มติของพรรคประชาชนปฏิวัติลาวที่ออกระหว่างการประชุมใหญ่พรรคครั้งที่ 9 เดือน มี.ค.2554 ได้ตั้งเป้าการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 8% ต่อปีตลอดเวลา 5 ปีข้างหน้า และรายได้เฉลี่ยต่อหัวของชาวลาวทั้งประเทศเพิ่มขึ้นเป็น 1,700 ดอลลาร์ในปี 2558 ในปีเดียวกันนั้นทั่วทั้งประเทศจะต้องมีครอบครัวยากจนเหลืออยู่ไม่เกิน 10% ของทั้งหมด. ໄຫ້ຄອບຄົວບັນດາຜູ່ຮັບຈ້າງຂົນຂີ້ຂະຍະອອກຈາກຕົວເມືອງວຽງຈັນແດ່ພວກເຂົາເຈົ້າຄືຍັງທຸກຈົນແທ້ ຂພຈ ພວກເຂົາເຫັນເກັບກຳທ້ອນໂຮມເອົາຂີຂະຍະທີ່ສາມາດຂາຍໄດ້ ໄປຂາຍເພື່ອຈະໄດ້ຊື້ເຂົ້າກີໂລເມືອລ້ຽງຄອບຄົວ ຢ່າໄປເຊື່ອຄວາມໂຄສະນາຂອງທາງການເຂົາ ພວກນີ້ເຂົາບໍມີສະໝອງ
ຂີ້ຂະຍະ ??? ມັນແມ່ນພາສາຫຍັງ??? ບໍ່ເຄີຍໄດ້ງີນໃນພາສາລາວ????
ຂີ້ຂະຍະ ກໍເປັນສຳມະຊິກຄອບຄົວຂອງ ຂີ້ເຫຍື້ອ ນັ້ນລະ ແລະກໍເປັນພາສາ
ລາວເຮົານີແລ້ວ. ແຕ່ຄຳວ່າ ຂີ້ຂະຍະ ນີ້ມີຄຸນຄ່າຕ່ຳກ່ວາ ຂີ້ເຫຍື້ອ ອີກ, ຂີ້
ເຫຍື້ອຍັງມີບາງຢ່າງຍັງເປັນຜົນປະໂຍດຖ້າເຮົາມາເລືອກເອົາ ແຕ່ ຂີ້ຂະຍະ
ນີ້ບໍ່ມີແນວຈະເປັນປະໂຍດແລ້ວ ເພາະເປັນຂີ້ເຫຍື້ອທີ່ຜ່ານຄົນເລືອກເອົາ
ສິ່ງທີ່ເປັນປະໂຍດໄປໝົດແລ້ວ ເພິ່ນຈຶ່ງເອີ້ນວ່າ ຂີຂະຍະ.