อักษรล้านนาคืออักษรธรรมของลาวในปัจจุบัน แล้วตรงกับอักษรลาวในปัจจุบันไหม
ລ້ວນແລ້ວເໝືອນກັບອັກສອນທັມຂອງລາວໃນປັຈຸບັນ, ຈະເວົ້າແລ້ວລາວລ້ານຊ້າງກໍໃຊ້ອັກສອນດັ່ງລາວ
ລ້ານນານີ້ແລ້ວໃນເມື່ອກ່ອນ.
อักษรล้านนา จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับอักษรพม่า และ อักษรมอญ
ล้านนา
พม่า
แนวนี้แมจื่งแม่น ส้างสัน บ่แม่นชิมาผิดกัน กับเรื่อง ปะหวัดสาด
Anonymous wrote:แนวนี้แมจื่งแม่น ส้างสัน บ่แม่นชิมาผิดกัน กับเรื่อง ปะหวัดสาด
You're right, Cherrrrrr. Nueng Jock...
http://www.chiangmai-thailand.net/poom-punya-lanna/taumuang-lanna_font.html ตั๋วเมือง ภูมิปัญญาล้านนา
ความนำ
อาณาจักรล้านนาในเชิงวัฒนธรรม ถือเอาว่าหมายถึงเดินแดนในภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน อันได้แก่จังหวัด เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา แพร่ น่าน แม่ฮ่องสอน ลำพูน และลำปาง รวมตลอดไปถึงรัฐเชียงตุงในเขตประเทศสหภาพพม่า และแคว้นสิบสองพันนาในเขตประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประชากรในเขตดังกล่าวมีพื้นฐานร่วมกันที่สำคัญยิ่งคือ ความเป็นชนเผ่าไท (The Tai Races) ซึ่งมีพื้นฐานทางภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณีที่คล้ายคลึงกัน และโดยเฉพาะสิ่งที่ทำให้ประชาชนเหล่านั้นผูกพันกันอย่างแนบแน่น ก็คือความเชื่อในพุทธศาสนา และสิ่งที่โยงใยให้เกิดมาตรฐานร่วมของความรู้ความคิด และความเชื่อในหมู่ชนทั้งปวง ก็คือการที่ใช้อักษรแบบเดียวกันในการบันทึกคัมภีร์ทางพุทธศาสนา และรวมตลอดถึงคัมภีร์ที่บันทึกความรู้ต่าง ๆ
และจากการที่เอกสารเล่านั้นมีการคัดลอกต่อเนื่องกันมาทั้งในแง่การคัดลอกต่อ เนื่องในท้องถิ่นและการคัดลอกข้ามถิ่น อักษรที่ปรากฎในการบันทึกเอกสารนานาชนิดในเขตล้านนานี้อาจพบได้ว่ามีถึง ๓ ระบบ คือ ๑. อักษรธรรมล้านนา คือ อักษรที่นิยมใช้จารคัมภีร์พุทธศาสนาทั่วไป ๒. อักษรไทนิเทศ หรือ อักษรขอมเมือง นิยมใช้บันทึกกวีนิพนธ์ประเภทโคลง และจารในใบลาน ๓. อักษรฝักขาม คืออักษรที่ปรับปรุงจากอักษรสุโขทัย นิยมใช้ในงานประเภทศิลาจารึก
แต่ในที่นี้จะขอกล่าวเพียงอักษรธรรมล้านนาเท่านั้น อักษรธรรมล้านนานี้เป็นชื่อนิยมใช้เรียกในเชิงวิชาการ แต่ในหมู่ประชาชนทั่วไปอาจเรียกว่า ตัวเมือง หรือ อักขระเมือง จากการศึกษาของผู้รู้หลายท่านก็อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า อักษรชนิดนี้พัฒนาขึ้นจากอักษรมอญโบราณแห่งอาณาจักรหริภุญชัยในช่วงประมาณ พ.ศ. ๑๖๐๐ และก็อาจสืบโยงต้นเค้าไปถึงอักษรพราหมี ของพระเจ้าอโศกแห่งอินเดียได้ด้วย อักษรธรรมล้านนานี้ นิยมใช้ในการจารคัมภีร์ใบลานซึ่งเป็นคัมภีร์ทางพุทธศาสนา ซึ่งมีคัมภีร์ชื่อต่าง ๆ ประมาณ ๒๐๐๐ ชื่อ นอกจากนี้ยังนิยมใช้บันทึกความรู้ต่าง ๆ ในรูปของสมุดที่ทำขึ้นจากเปลือกของ ไม้สา เรียกว่า พับสา หรือ พับหนังสา ซึ่งเป็นเสมือนตำราหรือคู่มือของนักวิชาการพื้นบ้านล้านนาได้เป็นอย่างดี ในการเสนอแนวการเรียนอักขระชนิดนี้ ใคร่จะเสนอว่าน่าจะเรียนการเขียนภาษาล้านนาหรือล้านนาไทยเสียก่อนพอให้เข้าใจ จากนั้นจึงจะเรียนการใช้อักษรนี้ในการบันทึกภาษาอื่น เช่น ภาษาบาลีสันสกฤต เป็นต้น
อักษรธรรมล้านนา ( ตั๋วเมือง )
อักษรธรรมล้านนา หรือตัวเมือง เป็นอักษรที่สำคัญ และแพร่หลายในล้านนามาก การกำเนิดอักษรธรรมล้านนาก็คล้ายกับการกำเนิดอักษรทั้งหลาย คือ ปรับปรุงจากอักษรที่มีอยู่เป็นระบบมาแล้ว คือ อักษรมอญ หลักฐานเกี่ยวกับการกำเนิดอักษรธรรมล้านนาไม่ปรากฎ หลักฐานอักษรธรรมล้านนาเก่าที่สุดเท่าที่พบในปัจจุบัน คือ จารึกลานทอง พบที่สุโขทัย จารึกได้ระบุศักราชไว้ตรงกับ พ.ศ. ๑๙๑๙ อย่างไรก็ตาม ยังไม่พบหลักฐานว่า อักษรธรรมล้านนาเกิดขึ้นในสมัยใด เพราะอักษรธรรมล้านนามีกำเนิดจากพัฒนาการของภาษา คือ ค่อยๆเปลี่ยนแปลงทีละน้อยจึงอาศัยเวลานาน การกำเนิดอักษรธรรมล้านนา มีสาเหตุสำคัญมากจาความจำเป็นทางศาสนาเพื่อเขียนพระธรรมคำภีร์ให้เป็นสื่อ แก่คนในวงกว้าง อักษรธรรมล้านนาจึงเริ่มต้นจากการใช้เขียนภาษาบาลีเป็นหลัก ต่อมาดัดแปลงเพื่อใช้เขียนภาษาเมืองด้วย
อักษรธรรมล้านนา หรือ ตั๋วเมือง มักใช้จารบนคัมภีร์ใบลาน พับสา เอกสารโบราณ โดยเฉพาะเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับศาสนา เช่น ตำราภาษาบาลี ชาดก เรื่องราวการกัลปนาสิ่งของแก่วัด นอกจากนั้นยังใช้บันทึกเอกสารต่างๆ อันเกี่ยวเนื่องในพุทธศาสนา ตำราโหราศาสตร์ ตำราแพทย์ บทกวีนิพนธ์ และคร่าวซอ
การใช้อักษรธรรมล้านนามักจะขาดช่วงหรือชะงักไปบ้างตามความผันผวนของเหตุการณ์บ้านเมือง แต่ก็ยังสามารถสืบทอดกันตลอดมาได้เป็นอย่างดี จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ เมื่อมีการประกาศใช้รัฐนิยม ฉบับที่ ๓ ว่าด้วย ภาษาและหนังสือกับหน้าที่พลเมือง ห้ามการเรียนการสอนอักษรท้องถิ่น การใช้อักษรธรรมล้านนาจึงหยุดชะงักไปเป็นเวลานาน ประกอบกับความแพร่หลายในการใช้อักษรไทยปัจจุบันของสื่อมวลชนทุกแขนง การใช้อักษรธรรมล้านนาจึงเสื่อมลงตามลำดับ ปัจจุบันได้มีความพยายามที่จะฟื้นฟูอักษรธรรมล้านนาขึ้นอีก โดยได้จัดให้มีการเรียนการสอนอักษรธรรมล้านนาตามวัดในภาคเหนือ และสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งมหาวิทยาลัย และโรงเรียนมัธยม
อักษรธรรมล้านนา หรือ ตั๋วเมือง เป็นตัวอักษรที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและสำคัญที่สุด ลูกหลานคนเมืองจำเป็นต้องศึกษาเพื่อให้มีการสืบสานไว้ให้คู่แผ่นดินล้านนาตราบนานเท่านาน
ตัวอย่าง อักษรธรรมล้านนา หรือ ตั๋วเมือง
อักษรฝักขาม
อักษรฝักขาม เป็นตัวหนังสือของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชที่แพร่เข้าไปในล้านนา โดยได้เปลี่ยนรูปร่างและอักขรวิธีไปบ้าง จึงกลายเป็นอักษรฝักขาม ในล้านนานิยมใช้อักษรฝักขามสำหรับเขียนศิลาจารึก หลักที่เขียนเป็นอักษรฝักขามเก่าแก่ที่สุด คือ ศิลาจารึก ลพ. ๙ เขียน พ.ศ. ๑๙๕๔ และหลักใหม่สุดเขียน พ.ศ. ๒๓๗๐
ตัวอย่าง อักษรฝักขาม
อักษรไทยนิเทศ หรือ ตั๋วไทยนิเทศ
อักษรไทยนิเทศหรืออักษรขอมเมือง ตัวอักษรชนิดนี้เกิดจากการดัดแปลงอักษรธรรมล้านนา และอักษรฝักขามเข้าด้วยกันแล้วเติม “ศก” แบบขอม อักษรไทยนิเทศังสรุปไม่ได้ชัดเจน ว่ามีมาเมื่อใด เดิมเข้าใจกันว่าเกิดขึ้นในสมัยพระเจ้ากาวิละ แต่ภายหลังเริ่มพบหลักฐานว่ามีมาก่อนหน้านั้นแล้ว อักษรไทยนิเทศนิยมใช้เขียนในกวีนิพนธ์ต่างๆที่เป็นเรื่องทางโลก เช่น นิราศหริภุญไชย โคลงมังทรารบเชียงใหม่ โคลงพรหมทัต ทั้งนี้ถือว่าอักษรธรรมเป็นของสูง ใช้เขียนในศาสนา จึงไม่ใช้เขียนงานของกวีนิพนธ์ อักษรทั้งสามแบบดังกล่าว มีหน้าที่ในสังคมล้านนาต่างกัน และมีที่มาต่างกันด้วย การใช้ตัวอักษรของชาวล้านนาในอดีตจึงต้องพิจารณาตามความเหมาะสม นักเรียนประวัติศาสตร์ควรศึกษาที่มาของอักษรที่ใช้ในล้านนา และสามารถศึกษาหลักฐานประวัติศาสตร์จากอักษรโบราณได้
อักษรไทยนิเทศ เป็นอักษรผสมระหว่างอักษรธรรมล้านนา กับอักษรฝักขาม รูปแบบตัวอักษรเกือบทั้งหมดมีลักษณะคล้ายตัวอักษรฝักขาม แต่จะกลมป้อมเหมือนอักษรธรรมล้านนา มีการเติมศกบนตัวอักษรบางตัว มีอักขรวิธีบางแบบเหมือนอักษรธรรมล้านนา ชื่อของอักษรมีหลายอย่าง เช่น อักษรขอมไทย อักษรขอมเมือง อักษรขอมหวัด อักษรไทยฝักขาม อักษรฝักขามใหม่ และอักษรไทยนิเทศ ซึ่งเป็นชื่อที่นักวิชาการในปัจจุบันส่วนใหญ่รู้จักและเรียกขานกัน ทั้งนี้เนื่องจากข้อความท้ายเรื่องโคลงมังทรารบเชียงใหม่ บันทึกไว้ว่าอักษรชนิดนี้เรียกว่า อักษรไทยนิเธดหรือ อักษรไทยนิเทศ สันนิษฐานว่าเริ่มใช้อักษรไทยนิเทศหลัง พ.ศ. ๒๐๙๙ เล็กน้อย และมักใช้เขียนเรื่องทางคดีโลก โดยเฉพาะวรรณกรรมโคลงต่างๆ อาทิ โคลงนิราศหริภุญไชย โคลงนิราศดอยเกิ้ง โคลงพรหมทัต โคลงมังทรา จากต้นฉบับใบลานเท่าที่เหลืออยู่ ซึ่งคงจะเป็นฉบับคัดลอก พบว่ามีอายุระหว่าง พ.ศ. ๒๓๕๕ - ๒๓๘๙ ซึ่งน่าจะเป็นช่วงที่อักษรไทยนิเทศได้รับความนิยมสูงสุด และพบบ้างตามก้อนอิฐที่ใช้ก่อสร้างศาสนสถานต่างๆ ในล้านนา เช่น ที่เชียงราย เป็นต้น แต่ไม่มากนัก เนื่องด้วยระยะเวลาอันสั้น และความนิยมใช้อักษรไทยนิเทศคงมีอยู่เฉพาะในเขตราชสำนักเท่านั้น ยังไม่แพร่หลายไปถึงประชาชนทั่วไป จึงทำให้อักษรชนิดนี้ไม่เป็นที่รู้จักเท่าที่ควรและสุดท้ายก็ไม่มีการใช้อีกเลย
ตัวอย่าง อักษรไทยนิเทศ หรือ ตั๋วไทยนิเทศ
สำหรับท่านที่สนใจเรียนตั๋วเมืองเชิญคลิ๊กที่ลิงค์ด้านล่างครับ๑. แบบเรียนอักษรล้านนา หรือ ตั๋วเมือง๒. ระบบการพิมพ์อักษรธรรมล้านนา หรือ ตั๋วเมือง
กำเมือง คนเมือง ... บ่าอู้แล้วไผจะอู้ ตั๋วเมือง คนเมือง ... บ่าเฮียนแล้วไผจะเฮียน
ອ່ານບໍ່ອອກ
Anonymous wrote:อักษรล้านนาคืออักษรธรรมของลาวในปัจจุบัน แล้วตรงกับอักษรลาวในปัจจุบันไหม
ບໍ່ຄືນະ
ອັກສອນລາວ
ກ ຂ ຄ ງ ຈ ສ ຊ ຍ ດ ຕ ຖ ທ ນ ບ ປ ຜ ຝ ພ ຟ ມ ຢ ຣ ລ ວ ຫ ອ ຮ
ก ข ค ง จ ส ซ ย ด ต ถ ท น บ ป ผ ฝ พ ฟ ม ย ร ล ว ห อ ฮ
Anonymous wrote:ອັກສອນລາວກ ຂ ຄ ງ ຈ ສ ຊ ຍ ດ ຕ ຖ ທ ນ ບ ປ ຜ ຝ ພ ຟ ມ ຢ ຣ ລ ວ ຫ ອ ຮ ก ข ค ง จ ส ซ ย ด ต ถ ท น บ ป ผ ฝ พ ฟ ม ย ร ล ว ห อ ฮ
บางตัวเหมือนกันยังกะแกะ 5555
Anonymous wrote:Anonymous wrote:ອັກສອນລາວກ ຂ ຄ ງ ຈ ສ ຊ ຍ ດ ຕ ຖ ທ ນ ບ ປ ຜ ຝ ພ ຟ ມ ຢ ຣ ລ ວ ຫ ອ ຮ ก ข ค ง จ ส ซ ย ด ต ถ ท น บ ป ผ ฝ พ ฟ ม ย ร ล ว ห อ ฮ บางตัวเหมือนกันยังกะแกะ 5555
โหมี 4 ตัวที่ไม่เหมือนอักษรไทย
ข ซ อ ฮ นอกนั้นคล้ายกันทุกประการ
ມີ ທ ທຸງ ຕົວດຽວ ໄທ ท ฑ ธ ฐ
ມີ ຊ ຊ້າງ ຕົວດຽວ ໄທ ช ซ ฉ
ມີ ຄ ຄົນ ຕົວດຽວ ໄທ ต ฆ
ມີ ສ ເສືອ ຕົວດຽວ ໄທ ส ศ ษ
ມີ ພ ພູ ຕົວດຽວ ໄທ พ ภ
ມີ ນ ນົກ ຕົວດຽວ ໄທ น ณ
ມີ ຍ ຍຸງ ຕົວດຽວ ໄທ ย ญ
ມີ ລ ລິງ ຕົວດຽວ ໄທ ล ฬ
ພະຍັນຊະນະໃນພາສາລາວແຕ່ຄາວສະໃໝເຈົ້າຊີວິດນຸ່ງຜ້າກະຕ່ຽວມີທັງໝົດ 41 ໂຕ
ມີຄວາມສາມາດທຽບເທົ່າກັບພາສາຊົນເຜົ່າແລະພາສາສາກົນໄດ້ເປັນຢ່າງດີ.
ແຕ່ຍ້ອນຄວາມເຫັນແກ່ຕົວນັກປຣາຊແລະນັກການເມືອງບາງຄົນ
ເພິ່ນຈຶ່ງຕັດພະຍັນຊະນະເຫຼົ່ານັ້ນອອກຈາກວົງສາຄະນະຍາດຂອງພະຍັນຊະນະລາວ.
http://www.lao-americansheritage.com
ท่อง ก ไก่ สมัยใหม่
ນັກເດົາ wrote:ພະຍັນຊະນະໃນພາສາລາວແຕ່ຄາວສະໃໝເຈົ້າຊີວິດນຸ່ງຜ້າກະຕ່ຽວມີທັງໝົດ 41 ໂຕມີຄວາມສາມາດທຽບເທົ່າກັບພາສາຊົນເຜົ່າແລະພາສາສາກົນໄດ້ເປັນຢ່າງດີ.ແຕ່ຍ້ອນຄວາມເຫັນແກ່ຕົວນັກປຣາຊແລະນັກການເມືອງບາງຄົນເພິ່ນຈຶ່ງຕັດພະຍັນຊະນະເຫຼົ່ານັ້ນອອກຈາກວົງສາຄະນະຍາດຂອງພະຍັນຊະນະລາວ. http://www.lao-americansheritage.com
ຂໍຊົມເຊີຍ ທ່ານນັກເດົາທີ່ເອົາຮູບພາບນີ້ມາລົງໄວ້ເພື່ອໃຫ້ຄົນຣຸ້ນໃຫມ່ໄດ້ປະດັບຄວາມຮູ້ວ່າເຮົາເຄີຍໃຊ້ອັກສອນແບບນີ້ມາກ່ອນ ຂໍຈົ່ງຮັກສາຄວາມເປັນລາວໄວ້ໃຫ້ລູກຫລານເດີ ທຸກທ່ານ
**
ຂັດຄ້ານ ຫລື ຄັດຄ້ານ
ຢູ່ໃນໝວດຄໍາທີ່ມັກສະກົດຜິດ ເຄີຍໄດ້ນໍາເອົາການມັກສະກົດຫລົງກັນລະຫວ່າງຄໍາວ່າ "ຂັດ" ແລະ "ຄັດ" ທ່ານສາມາດອ່ານໄດ້ຈາກ: http://bailane.com/Blog/ViewBlog.aspx?sid=109&hid=21263 ສໍາລັບເທື່ອນີ້ ຈະມາວິເຄາະວິຈານການໃຊ້ຄໍາສັບທີ່ມີຄວາມຫມາຍ "ຕ້ານທານ, ບໍ່ເຫັນດີນໍາ, ບໍ່ຍອມຕາມ" ເຊິ່ງໃນຜ່ານມາເຄີຍເຫັນມີຂຽນເປັນສອງແບບຄື "ຄັດຄ້ານ" ແລະ "ຂັດຄ້ານ". ຢູ່ຕາມປຶ້ມວັດຈະນານຸກົມ ແລະເອກະສານນັບແຕ່ປີ 2010 ລົງໄປ ມັກເຫັນຂຽນເປັນ "ຄັດຄ້ານ". ແຕ່ມາສອງສາມປີມານີ້ ເຫັນຫຼາຍເອກະສານພາກັນຂຽນເປັນ "ຂັດຄ້ານ". ສາເຫດທີ່ເຮັດໃຫ້ມີບາງຄົນບໍ່ຂຽນຕາມທີ່ເຄີຍຂຽນມາ ທັງໆທີ່ມີການບັນທຶກໄວ້ຢູ່ໃນວັດຈະນານຸກົມຄັກແນ່ ອາດແມ່ນຍ້ອນອີງໃສ່ຄວາມຫມາຍ ເພາະຄໍາວ່າ "ຂັດ" ມີຄວາມຫມາຍວ່າ "ບໍ່ເຮັດຕາມ", ສ່ວນຄໍາວ່າ "ຄັດ" ຜັດມີຄວາມຫມາຍວ່າ "ເລືອກ". ດັ່ງນັ້ນ, ຈຶ່ງອີງຕາມຄວາມຫມາຍມາຂຽນ. ຕາມທໍາມະດາແລ້ວ ຄໍາໃດທີ່ເປັນຄໍາຊ້ອນ ແຕ່ລະຄໍາຈະມີຄວາມຫມາຍໃກ້ຄຽງກັນ ເຊັ່ນ ອິດເມື່ອຍ ທັງ "ອິດ" ແລະ "ເມື່ອຍ" ມີຄວາມຫມາຍຄ້າຍຄືກັນ, ຫຍັບຍ້າຍ ທັງ "ຫຍັບ" ແລະ "ຍ້າຍ" ມີຄວາມຫມາຍ "ເຄື່ອນອອກຈາກບ່ອນເກົ່າ" ຄືກັນ ແລະອື່ນໆ... ເມື່ອມາພິຈາລະນາຄໍາທີ່ຍົກມາວິເຄາະນີ້ ກໍແມ່ນຕົກໃນກໍລະນີດຽວກັນ. ຫາກວ່າຢາກໃຫ້ຄໍາຊ້ອນດັ່ງກ່າວ ຂຽນຖືກຕາມຄວາມຫມາຍແລ້ວ ກໍຄວນຂຽນເປັນ "ຂັດຄ້ານ". ຫາກບໍ່ໃສ່ໃຈເລື່ອງຄວາມຫມາຍໂດຍຂຽນໃຫ້ຖືກຕາມສຽງເວົ້າເທົ່ານັ້ນ ຂຽນວ່າ "ຄັດຄ້ານ" ກໍເຫັນວ່າໄດ້ແລ້ວ ແລະສາມາດຕີຄວາມຫມາຍວ່າ "ເລືອກທີ່ຈະບໍ່ເຫັນດີນໍາ".