Pasalao

Members Login
Username 
 
Password 
    Remember Me  
Post Info TOPIC: ຄິດວ່າຊາດໄດໃນ11ປະເທດອາຊຽນຈະໄດ້ເປັນເຈົ້າພາບຈັດກິລາໃນໂອໂລມປິກກ່ອນໝູ່ ?
Anonymous

Date:
ຄິດວ່າຊາດໄດໃນ11ປະເທດອາຊຽນຈະໄດ້ເປັນເຈົ້າພາບຈັດກິລາໃນໂອໂລມປິກກ່ອນໝູ່ ?


ຄິດວ່າຊາດໄດໃນ11ປະເທດອາຊຽນຈະໄດ້ເປັນເຈົ້າພາບຈັດກິລາໃນໂອໂລມປິກກ່ອນໝູ່ ?

ລາວເຮົາມີໂອກາດບໍ?



__________________
Anonymous

Date:
RE: ຄິດວ່າຊາດໄດໃນ11ປະເທດອາຊຽນຈະໄດ້ເປັນເຈົ້າພາບຈັດກິລາໃນໂອໂລມປິກກ່ອນໝູ່ ?


ປະເທດລາວຄົງບໍ່ມີໂອກາດໄດ້ເປັນເຈົ້າພາບຈັດງານມະຫາກໍາກິລາໂອລິມປິກດອກໃນໄລຍະ 20 ປີຂ້າງໜ້າຖ້າສົມທົບກັບວຽດນາມອາດຈະເປັນໄປໄດ້.

__________________
Anonymous

Date:

I think Malaysia  and Indonesia



__________________
Anonymous

Date:

ສິງກະໂປແນ່ນອນ biggrin



__________________
Anonymous

Date:

I think Thailand beaused Bangkok used to hosted Asian Games for 3 times.



__________________
Anonymous

Date:

Laos or Cambodia

__________________


Veteran Member

Status: Offline
Posts: 56
Date:



__________________


Veteran Member

Status: Offline
Posts: 56
Date:



__________________


Veteran Member

Status: Offline
Posts: 56
Date:

I love THAILAND " MALAYSIA " SINGAPORE " We are a family



__________________


Veteran Member

Status: Offline
Posts: 56
Date:



__________________


Veteran Member

Status: Offline
Posts: 56
Date:

CHIANG MAI,THAILAND



__________________


Senior Member

Status: Offline
Posts: 101
Date:

http://www.thai-aec.com/134

จุดเด่นและข้อได้เปรียบ ของประเทศไทย ที่ดีกว่าประเทศอื่นในอาเซียน

แม้ว่าประเทศไทยจะมีปัญหาบางด้านแต่ก็เป็นประเทศหนึ่งที่ มีความได้เปรียบและมีจุดแข็งหลายด้านเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน พิจารณาได้จากขีดความสามารถในการแข่งขันโดยรวมที่จัดทําโดยสถาบันนานาชาติเพื่อพัฒนาด้านการจัดการ(International Institute for Management Development : IMD) ในปี 2554 พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 10 เมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และเป็นอันดับที่ 3 ในภูมิภาคอาเซียน โดยเป็นรองเฉพาะ ประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย ทั้งนี้ สามารถแบ่งเป็นหัวข้อได้ดังต่อไปนี้

1. ด้านตลาดแรงงาน พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับต่ํา โดยในเดือน ธ.ค. 2554 ที่ผ่านมา อัตราการว่างงานของประเทศไทยอยู่ในระดับต่ําเพียงร้อยละ 0.4 ของประชากรที่อยู่ในวัยแรงงาน ขณะที่ประสิทธิภาพของแรงงาน (Labor Productivity) ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในอาเซียน และมีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆตามลําดับ ขณะเดียวกัน รายได้ประชากรต่อหัวของไทยที่ได้รับโดยเฉลี่ยก็อยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม แต่ต่ํากว่าเฉพาะสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย

2.ด้านการท่องเที่ยว พบว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับไปทั่วโลก โดยกระทรวงการต่างประเทศแจ้งว่า ประเทศไทยได้รับรางวัลด้านการท่องเที่ยว Grand Travel Award Stockholm ประจําปี ค.ศ.2011 สาขาประเทศท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมสูงสุด (Best Tourist Country)และเป็นปีที่ 9 ที่ ไทยได้รับรางวัลดังกล่าวติดต่อกัน

3.ขนาดของตลาด ภูมิภาคอาเซียนเป็นภูมิภาคที่ มีตลาดขนาดใหญ่ ยังมีศักยภาพที่ จะขยายตัวได้อีกมากในอนาคต โดยเฉพาะประเทศไทยมีจํานวนประชากรสูงถึง 66.7 ล้านคน มากเป็นอันดับ 4 รองจากประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม ที่ มีประชากร 245.6 ล้านคน 101.8 ล้านคน และ 90.5 ล้านคน ตามลําดับ ขณะที่ เมื่อพิจารณาโครงสร้างอายุประชากรของประเทศสมาชิกอาเซียนแล้ว พบว่า มีความคล้ายคลึงกันโดยประชากรส่วนใหญ่ในแต่ละประเทศอยู่ในวัยหนุ่มสาวและวัยทํางาน (อายุระหว่าง 15-64 ปี) ประมาณร้อยละ 70 ของประชากรทั้งหมดใน ซึ่งไทยได้ผูกพันเปิดตลาดทั้งหมด 143 รายการ ตามข้อตกลงการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ซึ่งครอบคลุมสาขาบริการหลัก อาทิ บริการวิชาชีพ (ได้แก่ วิชาชีพวิศวกรรม สถาปัตยกรรม และบัญชี เป็นต้น) คอมพิวเตอร์และการสื่อสารการ ก่อสร้าง การจัดจําหน่าย (อาทิ บริการค้าส่งเครื่องกีฬาและบริการแฟรนไชส์ เป็นต้น) การศึกษาในทุกระดับ บริการด้านสุขภาพ บริการสิ่งแวดล้อม และบริการท่องเที่ยว เป็นต้น ตลอดจนการวางยุทธศาสตร์ของประเทศโดยใช้จุดแข็งที่กล่าวมาแล้วให้เป็น ประโยชน์มากยิ่งขึ้นกว่าที่เป็นอยู่และเพื่อให้ได้ประโยชน์จากการเข้าสู่ AEC มากที่สุด

4.ทําเลที่ตั้ง ประเทศไทยมีความได้เปรียบในด้านยุทธศาสตร์การคมนาคมอยู่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทยมีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ซึ่งได้เปรียบการคมนาคมทั้งทางบกและทางอากาศ จากแหล่งทําเลที่ตั้งในภูมิภาคอาเซียน รวมไปถึงแหล่งทําเลที่ตั้งในโครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ําโขง (Greater Mekong Sub-region : GMS) ซึ่งทําให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางในการคมนาคมในภูมิภาคอาเซียนได้ไม่ยากนัก นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีศักยภาพที่จะเป็นศูนย์กลางทางการบินและคมนาคมทางบกที่จะเชื่อมประเทศคาบสมุทรอินโดจีนและเชื่อมโยงเอเชียเหนือโดยเฉพาะจีนกับเอเชียตะวันตกโดยเฉพาะอินเดียเข้าด้วยกันหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าว ประเทศไทยต้องให้ความสนใจกับการเพิ่มผลิตภาพทั้งด้านการศึกษาและทักษะที่สูงขึ้น เพราะในขณะนี้ประสิทธิภาพการผลิตของไทยเพิ่มขึ้นช้า หากเกิดการขาดแคลนแรงงานจะส่งผลให้เศรษฐกิจไทยเติบโตในอัตราต่ํา

แม้ว่าประเทศไทยมีจุดเด่นและข้อได้เปรียบกับประเทศอื่นๆในภูมิภาคอาเซียน แต่ประเทศไทยก็ยังต้องเตรียมพร้อมอีกหลายด้าน เช่น ในด้านภาษีซึ่งปัจจุบันอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลของไทยอยู่ที่ 30% ซึ่งถือว่าสูงกว่าประเทศอื่นๆในอาเซียน แต่ก็จะมีการปรับลดลงเหลือ 23% ในปี 2555 และเหลือ 20% ในปี 2556 ตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่งจะทําให้ระบบภาษีของไทยเอื้ออํานวยต่อการแข่งขัน นอกจากนี้ ยังต้องพัฒนาสินค้าที่ มีศักยภาพในการแข่งขันสูงอย่างต่อเนื่องอาทิ รถยนต์และชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์ เพื่อให้เติบโตต่อไปได้ตามการขยายตัวของสินค้าในตลาดโลก

ที่มา :โพสต์ทูเดย์



อ่านต่อ: http://www.thai-aec.com/134#ixzz21zX7VZ6C



__________________


Senior Member

Status: Offline
Posts: 101
Date:

AEC-population.png

AEC-population-income.png



__________________
ລຸງແສງ

Date:

Anonymous wrote:

Laos or Cambodia


ຢ່າໄປຫລົງຍົກມືຮັບເປັນເຈົ້າພາບຈັດງານໂອລິມປິກເດີຫລານ ແພງບໍ່ເງິນບໍ່ຄໍາໄວ້ໃຫ້ລູກຫລານໃຊ້ດີກວ່າເນີ. ເບິ່ງຈີນຫັ້ນເປັນຕົວຢ່າງ, ລົງທຶນ 43 ພັນລ້ານໂດລາ ໄດ້ກໍາໄລແຕ່ 178 ລ້ານໂດລາ. ຕອນ Greece ເຮັດ ລົງທຶນ 15 ພັນລ້ານ, ຫລຸບທຶນ 14 ພັນລ້ານ. ອົດສະຕາລີເຮັດ ລົງທຶນ 3800 ລ້ານ ຫລຸບທຶນ 1500. ຖ້າເບິ່ງອັງກິດ ລົງທຶນ 13 ພັນລ້ານ ຊິໄດ້ກໍາໄລຫລືຫລຸບທຶນ? ບ້ານເຮົາ ຖະໜົນຫົນທາງກໍ່ຍັງບໍ່ທັນໄດ້ມາດຕະຖານ, ຕຶກອາຄານກໍ່ຍັງມີນ້ອຍ ປັດໃຈອື່ນກໍ່ຍັງບໍຫລາຍ ຖ້າເຮັດກໍ່ຄົງຈະໄດ້ລົງທຶນຫລາຍກວ່າຈີນ.

__________________
Anonymous

Date:

ເຫັນດີນຳລຸງແສງ!

ສຳຫລັບປະເທດ ກເຣັກ ຕອນຈັດກິລາໂອລິມປິກ(ປີ ຄສ 2000)ນັ້ນກໍ່ບໍ່ນ້ອຍໜ້າຈາກບຸນໂອລິມປິກຈາກແຫ່ງອື່ນໆທີ່ເຄີຍມີມາ, ຫລັງຈາກ12ປີຕໍ່ມາປະເທດດັ່ງກ່າວນີ້ຫວຸ້ນວາຍທີ່ສຸດ

ເດີນຂະບວນ ຈູດບ້ານເຜົາເມືອງ ຢູ່ຕະຫລອດ ແລະ ປ່ຽນລັຖບານ. ບາງເທື່ອປະເທດນີ້ອາດຈະອອກຈາກຕະກຸນ ການເປັນສະມາຊິກເອີຣົບກໍ່ເປັນໄດ້.

ເຢັຽລະມັນກໍ່ເອົາເງິນໄປຊ່ວຍສອງເທື່ອແລ້ວແຕ່ວ່າທະນາຄານກໍ່ແຫ້ງຕາມເຄີຍເພາະ(ຂາດເງິນໝູນວຽນ) ຍ້ອນບັນດາເສດຖີຫລືບໍ່ດັ່ງນັ້ນກໍ່ອາດຈະແມ່ນການນຳຍັກຍອກເອົາໄປກ່ອນ, ສະນັ້ນນພະນັກງານຂັ້ນຕ່ຳແລະກຳມະກອນແມ່ນບໍ່ໄດ້ຮັບເງິນເດືອນທົ່ວເຖິງກັນ, ດັ່ງນັ້ນເຂົາເຈົ້າຕ້ອງງົດ ບໍ່ໄປເຮັດວຽກ.

ສ່ວນກິລາໂອລິມປິກຢູ່ ລອນດອນ ນີ້ກໍ່ເກີດມີອາການຂຶ້ນມາໃຫ້ເຫັນເລັກນ້ອຍແລ້ວໃນພາກສ່ວນປີ້ເຂົ້າຊົມກິລາປະເພດຕ່າງໆ, ພວກເຮົາຈະເຫັນບ່ອນນັ່ງເປົ່າຫວ່າງຫລາຍທີ່ສຸດ ຈົນໄດ້ເອົາ   ທະຫານແລະຕຳຫລວດທີ່ມາຮັກສາຄວາມສະຫງົບເຂົ້ານັ່ງແທນ ຍ້ອນວ່າມີການຂາຍປີ້ມືດຫລາຍຂຶ້ນແລະກົ່ງເອົາລາຄາສູງ!

ນີ້ແມ່ນບົດຮຽນທີ່ພວກເຮົາຄວນຖອດຖອນເອົາແລະນຳເອົາມາຄຶດ.

ສິ່ງສຳຄັນລາວເຮົາຈະຕ້ອງສົ່ງເສີມໃຫ້ມີນັກກິລາປະເພດປະເພດຕ່າງແລະສົ່ງເຂົ້າຮ່ວມໃຫ້ຫລາຍຂຶ້ນ, ຕົວຢ່າງ: ປະເພດກິລາແລ່ນທົນນີ້ຄວນໃຫ້ມີນຳເພິ່ນເພາະວ່າລາວເຮົາມີຫລາຍຊົນເຜົ່າ

ບາງຊົນເຜົ່າເຂົາເຈົ້າທົນທານໃນການຍ່າງແທ້ໆ ຖ້າສົ່ງເສີມໄດ້ລາວເຮົາຕ້ອງຕິດລຳດັບນຳຊາດອື່ນຢ່າງແນ່ນອນ!

ດ້ວຍຄວາມນັບຖື



__________________
Anonymous

Date:

ຂ້ານ້ອຍເຫັນເຂົາຈ່າວຂາຍຢູ່ອີເບ ປີ້ເຂົ້າເບິ່ງບານບ້ວງຂີ້ຊາຍ ປີ້ນຶ່ງເກືອບສອງພັນ ໃຜຊິໄປຊື້ເພິ່ນຂາຍແພງຂະນາດນີ້.

__________________
Page 1 of 1  sorted by
Quick Reply

Please log in to post quick replies.



Create your own FREE Forum
Report Abuse
Powered by ActiveBoard