ໄທມີເງິນ ເນຣະມິດຫຍັງກໍ່ໄດ້, ສ່ວນລາວຕ້ອງໄດ້ອາໃສຄົນອື່ນ(ໄທ)ເປັນຄົນກາງເພື່ອຂໍຮ້ອງໃຫ້ຈີນ
ປ່ອຍເງິນກູ້ມາສ້າງທາງຣົຖໄຟຄວາມໄວສູງ ທັງໆທີ່ລາວເອົາບໍ່ຄໍາ ບໍ່ທອງແດງຢູ່ເຊໂປນແລະບໍ່ບັອກໄຊ
ຢູ່ຈໍາປາສັກຄໍ້າປະກັນ.
http://lao.voanews.com/content/thai-govt-supports-laos-to-lending-capital-from-china-to-build-speed-train/1674542.html
Anonymous wrote:ໄທມີເງິນ ເນຣະມິດຫຍັງກໍ່ໄດ້, ສ່ວນລາວຕ້ອງໄດ້ອາໃສຄົນອື່ນ(ໄທ)ເປັນຄົນກາງເພື່ອຂໍຮ້ອງໃຫ້ຈີນປ່ອຍເງິນກູ້ມາສ້າງທາງຣົຖໄຟຄວາມໄວສູງ ທັງໆທີ່ລາວເອົາບໍ່ຄໍາ ບໍ່ທອງແດງຢູ່ເຊໂປນແລະບໍ່ບັອກໄຊຢູ່ຈໍາປາສັກຄໍ້າປະກັນ.http://lao.voanews.com/content/thai-govt-supports-laos-to-lending-capital-from-china-to-build-speed-train/1674542.html
ບໍ່ແມ່ນໄທມີເງິນ ລັດກຖະບານໄທກໍກູ້ເງິນຈາກນາຍທຶນຄືກັນທີ່ຈະສ້າງທາງລົດໄຟຄວາມໄວສູງນີ້,
ແຕ່ຕ້ອງຂຶ້ນກັບຄວາມໄວ້ເນື້ອເຊື່ອໃຈຂອງຄົນປູ້ທີ່ຈະເອົາເງິນອອກມາໃຫ້ກູ້ນັ້ນຈະມີຫລາຍໜ້ອຍ
ພຽງໃດຕໍ່ຜູ້ທີ່ຈະຢືມ. ກໍບໍ່ຕ່າງຫຍັງຄົນເຮົາໄປກູ້ເງິນທະນາຄານຊື້ລັດຊື້ບ້ານນັ້ນແລ້ວ, ມັນກໍຂຶ້ນ
ຢູ່ກັບເຄຣດິດ(Credit)ຂອງເຮົາ ເເລະສຳຄັນທີ່ສຸດແມ່ນປະຫວັດການຈ່າຍຄືນເງິນກູ້ຂອງເຮົາໃຫ້
ນາຍທຶນເງິນກູ້ດີບໍ່? ຈ່າຍຕົງເວລາບໍ່? ຈ່າຍບໍ່ຕົງເວລາມີຈັກງວດ ແລະລ່ວງເວລາກຳໜົດໃຫ້ນັ້ນ
ຈັກມື້. ໜີ້ເກົ່າບໍ່ທັນໃຊ໊ໝົດຢາກເອົາໜີ້ໃໝ່ຕື່ມໄປໜ້າເລີຍໆຜູ້ຈະເອົາເງິນໃຫ້ຢືມກໍບໍ່ມີຄວາມ
ເຊື່ອໝັ້ນວ່າຜູ້ຢືມຈະມີປັນຍາຈ່າຍແນວໃດ? ຫລືຜູ້ຢືມມີໜີ້ລົ້ນມືທີ່ກຳລັງຈ່າຍໜີ້ສິນຄືນໃຫ້ເຈົ້າ
ໜີ້ເປັນສິບເປັນຊາວແຫ່ງ ຜູ້ທີ່ເຂົາຈະເອົາເງິນໃຫ້ຢືມນັ້ນເຂົາກໍບໍ່ກ້າສ່ຽງ ເພາະເສຍເວລາເອົາ
ທີ່ຈະເອົາເງິນໃນຈຳນວນກ້ອນນັ້ນໄປຄ້າເງິນທາງອື່ນ. ການທີ່ຈີນບໍ່ເອົາເງິນໃຫ້ລາວຢຶມນັ້ນມັນ
ອາດຈະນອນຢູ່ໃນກໍລະນີໃດກໍລະນີນຶ່ງທີ່ຂ້າພະເຈົ້າເວົ້າອອກມານັ້ນ ດັ່ງໜີເກົ່າບໍ່ທັນໄຊ້ໝົດແຕ່
ຢາກຢືມໜີ້ໃໝ່ຕື່ມອີກ ຜູ້ທີ່ຈະເອົເງິນໃຫ້ກູ້ນັ້ນກໍບໍ່ຢາກໃຫ້ກູ້ແລ້ວ. ຈີນເຂົາຄິດໄລ່ບວກລົບຄູນ
ຫານຮຽບຮ້ອຍແລ້ວ, ເງີນ us$7000 ລ້ານ ໃຫ້ໄຊ້ຄືນພາຍໃນ 25 ປີ ພ້ອມດອກເບ້ຍ 13%
ແລ້ວລາວເຮົາຈະມີປັນຍາຂາຍອີ່ຫຍັງເພື່ອໄປໄຊ້ໜີ້ເຂົາ? ຖ້າຈະອາໄສປ່າໄມ້ແລະບໍ່ຄຳແລະທອງ
ແດງ ຈີນມັນກໍເປັນແລ້ວວ່າປ່າໄມ້ເມືອງລາວກ້ຽວໄປ 3/4 ຂອງປ່າທີ່ມີໄມ້ແລ້ວ ແລະບໍ່ຄຳບໍ່
ທອງແດງກໍໃກ້ຈະໝົດແລ້ວ. ພໍ່ຄ້າຫລືນາຍທຶນຈີນເຂົາແຮງຄິໄລ່ເກ່ງທາງດ້ານນີ້ຢູ່ແລ້ວ ເພາະ
ເຂົາຕ່າງກໍມີການສຶກສາສູງແລະມີປະລິນຍາຂອງແທ້.
ไทยก็กู้เงินต่างประเทศเหมือนกัน 2 ล้าน ล้าน บาท
Anonymous wrote:ไทยก็กู้เงินต่างประเทศเหมือนกัน 2 ล้าน ล้าน บาท
ใช่เราไม่มีเงินหรอก แต่เราบริหารตามแบบฉบับนักธุรกิจ เงินเราก็กู้เขามาเหมือนกัน
แต่ว่าเราเก็บภาษีที่หมุนเวียนในประเทศ และสินค้าส่งออกนำไปจ่ายเงินที่กู้มา
ผมว่าถ้าการบริหารดีๆประเทศท่านก็ทำได้เหมือนกัน
คืบหน้า! เปิดประมูลรถไฟความเร็วสูง ปลายปีนี้ คาดให้บริการปี 2561
โครงการสร้างรถไฟความเร็วสูงของไทยเริ่มเป็นรูปเป็นร่าง เตรียมรับความคิดเห็น พร้อมประกวดราคาปลายปีนี้ คาดเปิดให้บริการเฟสแรก กรุงเทพฯ - พิษณุโลก ในปี 2561 ก่อนเปิดบริการถึงเชียงใหม่ในปี 2562 กรุงเทพฯ - เชียงใหม่ เดินทาง 3 ชั่วโมง จ่ายไม่เกิน 2 พัน เมื่อวันที่ 24 มกราคม สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ได้จัดสัมมนารับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 1 เกี่ยวกับโครงการศึกษาและออกแบบรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ - เชียงใหม่ ระยะที่ 1 ช่วงกรุงเทพฯ-พิษณุโลก โดย พล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี ปลัดกระทรวงคมนาคม กล่าวว่า ภายหลังเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในเดือนสิงหาคมนี้แล้ว จะมีการนำเสนอให้คณะกรรมการผู้ชํานาญการ พิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อไป ทั้งนี้ การพิจารณาดังกล่าว จะใช้เวลาประมาณ 3 เดือน และจะเริ่มประกาศประกวดราคาในช่วงปลายปีนี้ หรือต้นปี 2557 และจะเริ่มก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ - เชียงใหม่ ปลายปี 2557 โดยเริ่มสร้างจากระยะแรก ในช่วงกรุงเทพฯ - พิษณุโลก ก่อน ซึ่งจะใช้งบประมาณ 2.4 แสนล้านบาท และเปิดให้บริการในปี 2561 ส่วนช่วงพิษณุโลก - เชียงใหม่ จะเริ่มก่อสร้างในปี 2558 และเปิดให้บริการในปี 2562 โดยงบประมาณก่อสร้างทั้งเส้นทางรวม 3.8 แสนล้านบาท สำหรับโครงการสร้างรถไฟความเร็วสูงสาย กรุงเทพฯ - เชียงใหม่ นี้ จะมีทั้งหมด 12 สถานี อาทิ บางซื่อ ดอนเมือง และอยุธยา เป็นต้น รวมระยะทาง 680 กิโลเมตร โดยรถไฟจะวิ่งโดยใช้ความเร็ว 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (กม./ชม.) และใช้เวลาเดินทางจากสถานีต้นทางถึงปลายทางประมาณ 3 ชั่วโมง โดยอัตราค่าโดยสารจากกรุงเทพฯ - พิษณุโลก จะอยู่ที่ประมาณ 1,000 บาท และจากกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ จะมีราคาไม่เกิน 2,000 บาท เฉลี่ยค่าบริการ 2.50 บาทต่อ กม. ซึ่งถือว่าราคาถูกกว่าการนั่งเครื่องบินประมาณ 3 บาทต่อ กม. เลยทีเดียว โดย ปลัดกระทรวงคมนาคม ระบุว่า การก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง 4 เส้นทาง จะใช้ระบบเดียวกัน 3 เส้นทาง คือเส้นทาง กรุงเทพฯ - เชียงใหม่, กรุงเทพฯ - หนองคาย, กรุงเทพฯ - หัวหิน ส่วนเส้นทาง กรุงเทพฯ - ระยอง จะใช้ระบบเดียวกับรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์ เพราะเป็นเส้นทางที่เชื่อมโยงกัน ด้าน นายจุฬา สุขมานพ ผู้อำนวยการ สนข. กล่าวว่า เส้นทางกรุงเทพฯ - เชียงใหม่ จะแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ตอน (เฟส) เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว เนื่องจากช่วงพิษณุโลก - เชียงใหม่ เป็นช่วงที่ต้องสร้างอุโมงค์จำนวนมาก จึงอาจต้องใช้เวลาพอสมควร แต่มั่นใจว่าระยะเวลาการก่อสร้างในแต่ละเฟสจะห่างกันประมาณ 1 - 2 ปี และการเปิดบริการแต่ละเฟสจะห่างกัน 1 ปี เช่นกัน โดยในไตรมาสที่ 3 นี้จะเริ่มประกวดราคางานระบบรถไฟ ก่อนจะเริ่มก่อสร้างทั้งโครงการ โดยเส้นทางกรุงเทพฯ - หนองคาย จะใช้ความเร็วประมาณ 250 กม./ชม. เพื่อเชื่อมโยงกับรถไฟความเร็วสูงจากลาว ที่ใช้ความเร็ว 200 กม./ชม. โดยเบื้องต้นจะเปลี่ยนสถานีให้บริการที่เวียงจันทน์ เพื่อเดินทางต่อไปยังประเทศจีน ส่วน นายสาธิต มาลัยธรรม รองผู้จัดการโครงการรถไฟความเร็วสูง ยืนยันว่า การก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงเส้นทางกรุงเทพฯ - เชียงใหม่ ในครั้งนี้ จะช่วยให้ประชาชนเดินทางได้สะดวกขึ้น เพราะใช้เวลาเดินทางเพียง 3 ชั่วโมงจากต้นทางถึงปลายทาง ต่างจากรถไฟธรรมดาซึ่งต้องใช้เวลาเดินทางถึง 10 ชั่วโมง และช่วยเรื่องการประหยัดพลังงาน อีกทั้งยังสามารถสร้างความเจริญสู่ต่างจังหวัด ส่งเสริมการท่องเที่ยว และช่วยในการขนส่งสินค้า เป็นต้น
มั่วครับ
รัฐบาลระดมทุนผ่านพันธบัตร และกองทุนสาธารณูปโภคเป็นส่วนใหญ่
กู้ต่างประเทศจริงๆไม่ถึง 10 เปอร์เซนต์เลยด้วยซ้ำ