หลายคนคงเคยชินกับการรับประทานอาหารแบบใส่กล่องโฟมกันใช่ไหมล่ะ เพราะสะดวก รวดเร็ว กินที่ไหนก็ได้ ประหยัดเวลาทำอาหาร และที่สำคัญทานเสร็จก็ไม่ต้องล้างอีกด้วย แต่เพื่อน ๆ เชื่อหรือไม่คะว่า ท่ามกลางความสะดวกสบาย กล่องโฟมก็แฝงไปด้วยภัยร้ายที่อาจคร่าชีวิตคุณได้ในที่สุด โดย นพ.วีรฉัตร กิตติรัตนไพบูลย์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านบรรจุภัณฑ์ บริษัทบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม ได้ให้ความรู้ว่า กล่องโฟมที่ใช้ตามท้องตลาดทั่วไป (Styrofoam) เป็นของเสียเหลือทิ้งสีดำ ๆ จากกระบวนการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม ประกอบด้วยสารสไตรีน (Styrene) มีโครงสร้างโมเลกุลคล้ายฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ในเพศหญิง อาหารตามสั่งที่บรรจุกล่องโฟม จึงเป็นแหล่งสะสมสารสไตรีน ซึ่งเป็นสารที่ออกฤทธิ์ทำให้สมองมึนงง สมองเสื่อมง่ายหงุดหงิดง่าย มีผลทำให้ประจำเดือนมาไม่ปกติ และเป็นสารก่อมะเร็งอีก 3 ชนิด ถ้าเป็นผู้ชายรับประทานเข้าไปมาก ๆ มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ขณะที่ผู้หญิงมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านม และทั้งสองเพศมีโอกาสสูงต่อการเป็นมะเร็งตับ แม้จะไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำก็ตาม สำหรับสไตรีน ถือเป็นสารอันตรายที่สหรัฐฯ เพิ่งประกาศขึ้นบัญชีสารก่อมะเร็ง หญิงมีครรภ์ที่รับประทานอาหารบรรจุในกล่องโฟม ลูกมีโอกาสสมองเสื่อมเป็นเอ๋อ อวัยวะบางส่วนพิการ ส่วนคนทั่วไปถ้ารับประทานอาหารกล่องโฟมทุกวัน วันละอย่างน้อย 1 มื้อ ติดต่อกันเป็นเวลา 10 ปี จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งสูงกว่าคนปกติถึง 6 เท่า
ทั้งนี้ ผู้บริโภคมีโอกาสได้รับสารสไตรีนในกล่องโฟมได้ง่ายถึง 5 ปัจจัยได้แก่ 1. อุณหภูมิที่ร้อนขึ้นหรือเย็นลง ทำให้สไตรีนซึมเข้าสู่อาหารได้สูง 2. ถ้าปรุงอาหารโดยใส่น้ำมัน น้ำส้มสายชูแอลกอฮอล์ จะดูดสารสไตรีนจากกล่องโฟมได้มากกว่าปกติ 3. ถ้าซื้ออาหารใส่กล่องทิ้งไว้นาน ๆ ไม่ได้รับประทาน อาหารจะดูดสารสไตรีนได้มาก 4. ถ้านำอาหารที่บรรจุโฟมเข้าไมโครเวฟ สไตรีนจะไหลออกมาในปริมาณมาก 5. ถ้าอาหารสัมผัสพื้นที่ผิวกล่องโฟมมาก ๆ รวมถึงร้านไหนตัดถุงพลาสติกใสรองอาหาร ขอบอกว่าได้รับสารก่อมะเร็ง 2 เด้ง ทั้งสไตรีนและไดออกซินจากถุงพลาสติกเลยทีเดียว นพ.วีรฉัตร กล่าวเตือนด้วยว่า อาหารตามสั่งหรือข้าวราดแกงกับไข่ดาวหรือไข่เจียวร้อน ๆ อาจจะไปละลายผนังกล่องโฟม เสมือนรับประทานอาหารคลุกสไตรีนไปด้วย ถึงกระนั้นไข่ดิบที่วางขายในแผงไข่พลาสติก สารสไตรีนมีโอกาสวิ่งเข้าในเปลือกไข่ได้เช่นกัน ถ้าเลือกไข่ดิบควรเลือกซื้อจากแผงไข่กระดาษจะปลอดภัยที่สุด
ຂອບໃຈຫຼາຍໆເດີທີ່ເອົາສິ່ງທີ່ມີປະໂຫຍດຕໍ່ສຸຂະພາບມາໃຫ້ອ່ານປະດັບສະໝອງ
ຂ້ອຍຈະຖືປິ່ນໂຕກະເບື້ອງໄປໃສ່ເອງຖ້າໄປຊື້ອາຫານສຸກມາກິນ.
ຈະເຮັດແນວໃດ ໃຫ້ພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງ ຫຼື ຮ້ານທີ່ຂາຍອາຫານໃສ່ກ່ອງໂຟມ ຮັບຮູ້ອັນຕະລາຍໃຫ້ຕົວນີ້້
Anonymous wrote:ຈະເຮັດແນວໃດ ໃຫ້ພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງ ຫຼື ຮ້ານທີ່ຂາຍອາຫານໃສ່ກ່ອງໂຟມ ຮັບຮູ້ອັນຕະລາຍໃກ້ຕົວ
ຈະເຮັດແນວໃດ ໃຫ້ພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງ ຫຼື ຮ້ານທີ່ຂາຍອາຫານໃສ່ກ່ອງໂຟມ ຮັບຮູ້ອັນຕະລາຍໃກ້ຕົວ
Anonymous wrote:Anonymous wrote:ຈະເຮັດແນວໃດ ໃຫ້ພາກສ່ວນທີ່ກ່ຽວຂ້ອງ ຫຼື ຮ້ານທີ່ຂາຍອາຫານໃສ່ກ່ອງໂຟມ ຮັບຮູ້ອັນຕະລາຍໃກ້ຕົວ
ສື່ຕ່າງ ໆ ຄວນອອກຂ່າວຄວາມຮູ້ໃຫ້ປະຊາຊົນໄດ້ຮັບຂໍ້ມູນເຖິງຜົນຮ້າຍຂອງໂຟມຕະຫຼອດ
ພາກຣັຖຄວນອອກກົດໝາຍຫ້າມໃຊ້ໂຟມເປັນຂອງໃສ່ອາຫານທຸກປະເພດ
ສ່ວນຜູ້ບໍຣິໂພກໃຫ້ຖາມແມ່ຄ້າກ່ອນວ່າໃຊ້ໂຟມບັນຈຸອາຫານຫຼືບໍ່
ຖ້າໃຊ້ ໃຫ້ຢຸດຊື້ອາຫານຮ້ານນັ້ນທັນທີ ເພື່ອເປັນການບີບບັງຄັບແມ່ຄ້າໃຫ້ເຊົາໃຊ້ອີກຕໍ່ໄປ
ພວກເຮົາຢ່າມັກງ່າຍ ເພື່ອສຸຂະພາບຂອງເຮົາເອງ ເຮົາຕ້ອງໃສ່ໃຈເບິ່ງແຍງເອົາເອງ
ເຊິ່ງມັນກໍ່ບໍ່ແມ່ນເຮື່ອງຫຍຸ້ງຍາກຫຍັງ
ຊ່ອຍກັນຄົນລະໄມ້ຄົນລະມື ຈັກໜ່ອຍກໍ່ບໍ່ມີໃຜໃຊ້ໂຟມມາໃສ່ອາຫານອີກແລ້ວ
ບ້ານຂ້ອຍຫ້າມໃຊ້ styrofoam ກໍ່ຍ້ອນຢາກຮັກສາສະພາບແວດລ້ອມ
ບໍ່ແມ່ນຫ້າມເພື່ອສຸຂະພາບຂອງຜູ່ບໍຣິໂພກ.
http://www.usatoday.com/story/news/nation/2012/12/12/ban-polystyrene-foam-containers/1761145/