Pasalao

Members Login
Username 
 
Password 
    Remember Me  
Post Info TOPIC: คำไทยคิด ลาวยืมใช้ (อย่ามาดราม่ากันน้า)
Anonymous

Date:
คำไทยคิด ลาวยืมใช้ (อย่ามาดราม่ากันน้า)


รู้หรือไม่ว่าคำหลาย ๆ ที่เป็นศัพท์เทคนิค ลาวได้ยืมคำที่ไทยคิด(โดยแปลงจากบาลีสันกฤต )มาใช้หลายคำ  เช่น  ประชาธิปไตย   ประวัติศาสตร์   วัฒนธรรม สัมมนา สาธารณสุข  รัฐสภา รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  ฯลฯ
ตัวอย่างที่มาของคำ
1. "ประวัติศาสตร์"
เกิดจากการสมาสคำภาษาบาลี "ประวัติ" (ปวตฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต "ศาสตร์" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลว่า ความรู้

"ประวัติศาสตร์" ถูกบัญญัติขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า "History" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า "พงศาวดาร" (Chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม[8]

สำหรับคำว่า history มีที่มาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า

  2.วัฒนธรรม

คำว่า วัฒนธรรม ถอดศัพท์มาจากภาษาอังกฤษว่า Culture เป็นคำที่พลตรี พระเจ้าวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัติไว้ โดยมาจากการรวมกันของสองคำ คือ วัฒน มาจาก วฑฺฒน ในภาษาบาลี หมายถึง ความเจริญงอกงาม และธรรม มาจาก ธฺรม ในภาษาสันสกฤต หมายถึง สภาพที่เป็นอยู่จริง ดังนั้นวัฒนธรรมจึงหมายถึง สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม หรือความมีระเบียบวินัย คำว่า “วัฒนธรรม” มีใช้เป็นหลักฐานทางราชการครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2483ระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งต่อมาได้ถูกยกเลิกไป โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธราช 2485น และใช้ต่อมาจนถึงปัจจุบัน   



__________________
Anonymous

Date:

ສໍາລັບຄໍາເຕັກນິກ ເຊັ່ນ: ໄຟຟ້າ ນໍ້າປະປາ ຣົຖໄຟ ... ອາດຈະແມ່ນ ເພາະໄທເລິ້ມມີຣົຖໄຟແລ່ນໃນປີ 1890

ສ່ວນລາວມີຣົຖໄຟແລ່ນໃນປີ 1893, ສ່ວນໄຟຟ້າ ນໍ້າປະປາ...ຊອກຫາບໍ່ເຫັນຂໍ້ມູນ.



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ສໍາລັບຄໍາເຕັກນິກ ເຊັ່ນ: ໄຟຟ້າ ນໍ້າປະປາ ຣົຖໄຟ ... ອາດຈະແມ່ນ ເພາະໄທເລິ້ມມີຣົຖໄຟແລ່ນໃນປີ 1890

ສ່ວນລາວມີຣົຖໄຟແລ່ນໃນປີ 1893, ສ່ວນໄຟຟ້າ ນໍ້າປະປາ...ຊອກຫາບໍ່ເຫັນຂໍ້ມູນ.


ຕ້ອງກວດເບິ່ງວັດຈະນານຸກົມ ແລະ ພາສາປາລິ ສັນສະກິດ ນັກຂຽນຄົນລາວຂຽນໄວ້ຫລາຍໆຫົວ ແລະ ຫນັງສືໃບລານ ທີ່ບັນທຶກລົງໄວ້ ແຕ່ຫນ້າເສຍດາຍ ຍຸກເຈົ້າອານຸວົງ ເສຍໄຊໃຫ້ພວກສະຫຍາມ, ຫນັງສືໃບລານຖືກກວາດຕ້ອນໄປ ຮ່ວມທັງຄຳພີດີກາ

ເຄື່ອງຄ້ຳຂອງຄູນ ຊັບສິນເງິນຄຳ ເປັນຈຳນວນຫລາຍໆໂຕຊ້າງ. ຊ້ຳບໍ່ຫນຳນັກປາດອາຈານລຸ້ນນັ້ນຖືກ ກວາດຕ້ອນໄປ ສ້າງພຣະຣາຊວັງ ສ້າງຫໍພຣະແກ້ວ ຂຸດຄອງແສນແສບ. ແລະ ຖືກຂ້າຕາຍຢ່າງຫລວງຫລາຍ.

ສະນັ້ນ ຂໍ້ມູນທີຍັງກໍຢູ່ຕາມວັດວາ ທີ່ພວກສະຫຍາມ ບໍໄດ້ຈູດເຜົາທຳລາຍ, ເຊັ່ນ: ເຂດທາງນອກ ຄື: ວັດຫນອງລຳຈັນ ແລະບ່ອນອື່ນໆ. ຍຸກເຈົ້າອານຸວົງ ຜ່າຍແຜ້ສົງຄາມ ຖືກທຳລາຍຫນັກຫນ່ວງທີ່ສຸດ ຍ້ອນເຂົາເອົາໄປແລ້ວ ຍັງຈູດເຜົາທຳລາຍ. ຄົນມີຄວາມຮູ້ ມີການສຶກສາ ຄຳພີດີກາ ວັດທະນາະທັມ ຖືກເຜົາບ້ານເຜົາເມືອງ. ຈົນວຽງຈັນເປັນເມືອງຮ້າງ ຫລາຍປີ ສິ່ງທີ່ ເຫັນອີກບ່ອນກະຄືຢຸ່ວັດສີສະເກດ ຂະນາດພຣະພຸດທະຮູບແທ້ໆ ຍັງຖືກທຳລາຍ ແຕ່ທຳລາຍບໍ່ໄດ້ກະຄື ສິ່ງທີ່ຕິດພັນມາຮອດປະຈຸບັນ ຮີດສິບສອງຄອງສິບສີ່ ພາສາປາກເວົ້າ ວັດທະນະທຳ ການກິນ ວັດທະນະທຳການນຸ່ງຖື ຄົນລາວມີເອກະລັກ.

ເລື່ອງພາສາຢືມ ປະເທດຢູ່ໄກ້ກັນ ຄິດວ່າຄົງມີ ທັງສອງບາງຄຳລາວອາດຢືມ ຂອງປະເທດໄກ້ຄຽງ ບາງຄຳ ປະເທດໄກ້ຄຽງອາດຢືມຂອງລາວໄປ ການຈະເລີນທາງດ້ານເສດຖະກິດ ມັນເປັນເຄື່ອງວັດແທກບໍໄດ້ ວ່າປະເທດເສດຖະກິດດີກ່ອນ ຊິບໍ່ຢືມຂອງປະເທດຈະເລີນມາໃຊ້ ຂະນາດປະເທດສະຫະລັດ ພາສາກະຍັງໄດ້ຢືມຂອງອັງກິດ ວັດທະນະທຳຕ່າງໆ ຂອງເມກາເອງແທບຈະບໍມີ ມີແຕ່ເອົາມາຈາກຢູ່ໂຫລບເປັນສ່ວນຫລາຍ  ປະເທດຢູໂຫລບເກືອບຫມົດທະວີບ ເສດຖະກິດຍັງບໍ່ຈະເລີນທໍ່ເມກາ ແລະ ບາງບ້ານ ບາງເມືອງ ສ້າງມາຫລາຍຮອຍປີ ບາງບ້ານ ສ້າງມາ ບໍ່ຮອດຫ້າສິບປີແຕ່ຈະເລີນແຕກຕ່າງກັນ.

ເລື່ອງຊິຍົກເອົາແນວມາຂົ່ມເພິ່ນວ່າໂຕ ວ່າດີກ່ອນຄົນອື່ນຄົນອື່ນດ້ອຍກ່ອນ ຄົນເຮົາມີດີກັນຄົນລະແນວມີດີຄົນລະແບບ, ຄົນມີທັງດ້ານດີດ້ານຊົ່ວ ຄົນທຳມະດາສາມັນປະພຶດຕົວ ດີກ່ອນພວກກະສັດ ພວກເຈົ້າພວກຈອມ ກະມີຫລາຍ  ພວກກະສັດ ປະພຶດຕົວຊົ່ວຮ້າຍກ່ອນ ຄົນທຳມະດາກະມີຫລາຍ, ອັນນີ້ຢາກໃຫ້ເບິ່ງ ແບບເປັນກາງສ້າງສັນ ເອົາໃຈເຂົາມາໃສ່ໃຈເຮົາ .



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
รู้หรือไม่ว่าคำหลาย ๆ ที่เป็นศัพท์เทคนิค ลาวได้ยืมคำที่ไทยคิด(โดยแปลงจากบาลีสันกฤต )มาใช้หลายคำ  เช่น  ประชาธิปไตย   ประวัติศาสตร์   วัฒนธรรม สัมมนา สาธารณสุข  รัฐสภา รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  ฯลฯ
ตัวอย่างที่มาของคำ
1. "ประวัติศาสตร์"
เกิดจากการสมาสคำภาษาบาลี "ประวัติ" (ปวตฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต "ศาสตร์" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลว่า ความรู้

"ประวัติศาสตร์" ถูกบัญญัติขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า "History" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า "พงศาวดาร" (Chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม[8]

สำหรับคำว่า history มีที่มาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า

  2.วัฒนธรรม

คำว่า วัฒนธรรม ถอดศัพท์มาจากภาษาอังกฤษว่า Culture เป็นคำที่พลตรี พระเจ้าวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัติไว้ โดยมาจากการรวมกันของสองคำ คือ วัฒน มาจาก วฑฺฒน ในภาษาบาลี หมายถึง ความเจริญงอกงาม และธรรม มาจาก ธฺรม ในภาษาสันสกฤต หมายถึง สภาพที่เป็นอยู่จริง ดังนั้นวัฒนธรรมจึงหมายถึง สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม หรือความมีระเบียบวินัย คำว่า “วัฒนธรรม” มีใช้เป็นหลักฐานทางราชการครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2483ระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งต่อมาได้ถูกยกเลิกไป โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธราช 2485น และใช้ต่อมาจนถึงปัจจุบัน   


 ລາວເສຍດິນໃຫ້ສະຫຍາມເຄິ່ງປະເທດ  ແລ້ວມຶງຊິເວົ້າວ່າລາວເອົາພາສາມຶງບໍ



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
รู้หรือไม่ว่าคำหลาย ๆ ที่เป็นศัพท์เทคนิค ลาวได้ยืมคำที่ไทยคิด(โดยแปลงจากบาลีสันกฤต )มาใช้หลายคำ  เช่น  ประชาธิปไตย   ประวัติศาสตร์   วัฒนธรรม สัมมนา สาธารณสุข  รัฐสภา รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  ฯลฯ
ตัวอย่างที่มาของคำ
1. "ประวัติศาสตร์"
เกิดจากการสมาสคำภาษาบาลี "ประวัติ" (ปวตฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต "ศาสตร์" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลว่า ความรู้

"ประวัติศาสตร์" ถูกบัญญัติขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า "History" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า "พงศาวดาร" (Chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม[8]

สำหรับคำว่า history มีที่มาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า

  2.วัฒนธรรม

คำว่า วัฒนธรรม ถอดศัพท์มาจากภาษาอังกฤษว่า Culture เป็นคำที่พลตรี พระเจ้าวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัติไว้ โดยมาจากการรวมกันของสองคำ คือ วัฒน มาจาก วฑฺฒน ในภาษาบาลี หมายถึง ความเจริญงอกงาม และธรรม มาจาก ธฺรม ในภาษาสันสกฤต หมายถึง สภาพที่เป็นอยู่จริง ดังนั้นวัฒนธรรมจึงหมายถึง สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม หรือความมีระเบียบวินัย คำว่า “วัฒนธรรม” มีใช้เป็นหลักฐานทางราชการครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2483ระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งต่อมาได้ถูกยกเลิกไป โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธราช 2485น และใช้ต่อมาจนถึงปัจจุบัน   


 Buk Khonthai hou khee,  who the hell do you think ran Lopburi ?  Lao ok,  Anachak Lopburi was ways ways before Ayothaya until Hmon came in and mixed with Lao Lopburi and became Siamese Buk Houkhee. and there were two Siamese back then, Ayothaya Siamese, after Ayothaya Siamese collapsed and another Siamese rised up that mean Krung thinburi Pha Chao Taksin of Krung thonburi. after Pha chao Taksin, Now is Ratana kosin= Krung thep mahanakorn...

So , forget about your history that just started out pretty much from your current Chakri Dynasty...

We're not that stupid, is you people that got lied it too the real history.

Kepp in mind, every time we heard your guys talked about lost Anachak Lan Xang and some Cambodia, We were laugh at you people as hard we can...



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:
รู้หรือไม่ว่าคำหลาย ๆ ที่เป็นศัพท์เทคนิค ลาวได้ยืมคำที่ไทยคิด(โดยแปลงจากบาลีสันกฤต )มาใช้หลายคำ  เช่น  ประชาธิปไตย   ประวัติศาสตร์   วัฒนธรรม สัมมนา สาธารณสุข  รัฐสภา รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  ฯลฯ
ตัวอย่างที่มาของคำ
1. "ประวัติศาสตร์"
เกิดจากการสมาสคำภาษาบาลี "ประวัติ" (ปวตฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต "ศาสตร์" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลว่า ความรู้

"ประวัติศาสตร์" ถูกบัญญัติขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า "History" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า "พงศาวดาร" (Chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม[8]

สำหรับคำว่า history มีที่มาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า

  2.วัฒนธรรม

คำว่า วัฒนธรรม ถอดศัพท์มาจากภาษาอังกฤษว่า Culture เป็นคำที่พลตรี พระเจ้าวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัติไว้ โดยมาจากการรวมกันของสองคำ คือ วัฒน มาจาก วฑฺฒน ในภาษาบาลี หมายถึง ความเจริญงอกงาม และธรรม มาจาก ธฺรม ในภาษาสันสกฤต หมายถึง สภาพที่เป็นอยู่จริง ดังนั้นวัฒนธรรมจึงหมายถึง สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม หรือความมีระเบียบวินัย คำว่า “วัฒนธรรม” มีใช้เป็นหลักฐานทางราชการครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2483ระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งต่อมาได้ถูกยกเลิกไป โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธราช 2485น และใช้ต่อมาจนถึงปัจจุบัน   


 ລາວເສຍດິນໃຫ້ສະຫຍາມເຄິ່ງປະເທດ  ແລ້ວມຶງຊິເວົ້າວ່າລາວເອົາພາສາມຶງບໍ


 Tell him that DUDE, Every time i watched thai Bolan drama, I laugh at them so hard... the producers so frabbricated so much about story. for example, the story about Pha Chao Anouvong, thai historian written or called  Jao Anouvong Kabot, But never told majorities of the Thais why Chao Anouvong did what he did against Siamese back then...

if you thai people want to know why Chao Anouvong did what he did back then, Please go read history of Burma about Pha Chao Naresuan Maharaj...



__________________
Anonymous

Date:

ภาษาตระกูลไท มีการใช้ร่วมกันทุกเผ่าถึงร้อยละ 90 มีแตกต่างกันบ้างก้เล็กๆ น้อยๆ

เมื่อคำศัพท์ทางวิชาการไม่มี การประดิษฐ์ใหม่เป็นเรื่องธรรมดา

รากฐานของเผ่าไทเกิดจากคัมภีร์พระพุทธศาสนาซึ่งเป็นภาษาบาลี - สันสกฤต

ภาษาบาลี - สันสกฤตไม่ใช่ภาษาไท จัดเป็นภาษาต่างประเทศ แต่พวกเราก็รับมาใช้เพราะถือเป็นคำสูง

เผ่าไท ไม่ได้มีแต่สยาม ล้านนา ล้านช้าง ดังนั้นเมื่ออาณาจักรใดอาณาจักรหนึ่งสร้างคำใหม่ขึ้นมาได้

ทุกอาณาจักรย่อมมีสิทธิ์เอาไปใช้ได้เพราะจัดเป้็นภาษาเดียวกัน เช่นคำว่า โรงหมอกับโรงพยาบาล

ทางลาวเรียกโรงหมอ ไทยก็ฟังรู้เรื่อง ทางไทยเรียกโรงพยาบาล ลาวก็ฟังเข้าใจ

ทำไมต้องแบ่งแยกว่าเป็นของทางฟากโน้นฟากนี้?

วัฒนธรรมของเผ่าไทเปรียบเหมือนดินบ้านอ้ายไม้บ้านน้อง การหยิบเอาไปใช้ไม่ใช่เรื่องสึกหรอหรือน่าอายแต่อย่างใด

อย่างสร้างอคติว่าไทเผ่าไหนวิเศษกว่า

ไม่อย่างนั้นรุ่นลูกรุ่นหลานจะสื่อสารกันไม่รู้เรื่อง เพราะต่างถือว่าพวกเราไม่ใช่พวกเดียวกัน

 



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ภาษาตระกูลไท มีการใช้ร่วมกันทุกเผ่าถึงร้อยละ 90 มีแตกต่างกันบ้างก้เล็กๆ น้อยๆ

........

ไม่อย่างนั้นรุ่นลูกรุ่นหลานจะสื่อสารกันไม่รู้เรื่อง เพราะต่างถือว่าพวกเราไม่ใช่พวกเดียวกัน

 


 ກ່ອນປີ 1975 ລາວກໍ່ໃຊ້ຄໍາວ່າ ໂຮງພະຍາບາລ ເປັນສັບທາງຣາຊການ, ສ່ວນໂຮງໝໍເປັນສັບຊາວບ້ານ

ແລະມີອີກຫຼາຍໆສັບທີ່ລາວແລະໄທໃຊ້ຮ່ວມກັນ, ແຕ່ຫຼັງປີ 1975 ທ່ານພູມີ ວົງວິຈິດ ກໍ່ໄດ້ນໍາເອົາຫຼັກໄວ

ຍະກອນທີ່ເພິ່ນກັບເຈົ້າສຸກ ວົງສັກ ມາໃຊ້ ແລະລົບລ້າງຫຼັກໄວຍະກອນຂອງທ່ານມະຫາສີລາ ວິຣະວົງ.



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ภาษาตระกูลไท มีการใช้ร่วมกันทุกเผ่าถึงร้อยละ 90 มีแตกต่างกันบ้างก้เล็กๆ น้อยๆ

เมื่อคำศัพท์ทางวิชาการไม่มี การประดิษฐ์ใหม่เป็นเรื่องธรรมดา

รากฐานของเผ่าไทเกิดจากคัมภีร์พระพุทธศาสนาซึ่งเป็นภาษาบาลี - สันสกฤต

ภาษาบาลี - สันสกฤตไม่ใช่ภาษาไท จัดเป็นภาษาต่างประเทศ แต่พวกเราก็รับมาใช้เพราะถือเป็นคำสูง

เผ่าไท ไม่ได้มีแต่สยาม ล้านนา ล้านช้าง ดังนั้นเมื่ออาณาจักรใดอาณาจักรหนึ่งสร้างคำใหม่ขึ้นมาได้

ทุกอาณาจักรย่อมมีสิทธิ์เอาไปใช้ได้เพราะจัดเป้็นภาษาเดียวกัน เช่นคำว่า โรงหมอกับโรงพยาบาล

ทางลาวเรียกโรงหมอ ไทยก็ฟังรู้เรื่อง ทางไทยเรียกโรงพยาบาล ลาวก็ฟังเข้าใจ

ทำไมต้องแบ่งแยกว่าเป็นของทางฟากโน้นฟากนี้?

วัฒนธรรมของเผ่าไทเปรียบเหมือนดินบ้านอ้ายไม้บ้านน้อง การหยิบเอาไปใช้ไม่ใช่เรื่องสึกหรอหรือน่าอายแต่อย่างใด

อย่างสร้างอคติว่าไทเผ่าไหนวิเศษกว่า

ไม่อย่างนั้นรุ่นลูกรุ่นหลานจะสื่อสารกันไม่รู้เรื่อง เพราะต่างถือว่าพวกเราไม่ใช่พวกเดียวกัน

 


 ເຈົ້າເວົ້າຖື້ກແລ້ວ,ບໍ່ຮູ້ວ່າມີຄົນ(ໄທຍ໌)ກີ່ຄົນທີ່ເວົ້າແບບເຈົ້ານີ້!!



__________________
Anonymous

Date:

ຄົນໄທຈະເວົ້າຫຍັງກະຖືກໝົດແຫຼະ ເພາະວ່າຕອນສົງຄາມມາລັກເອົາຊັບສິນທາງປັນຍາແລະອື່ນໆອີກຫຼາຍຢ່າງຂອງລາວໄປ ນັບຕັ້ງແຕ່ນິທານຈົນຮອດເຄື່ອງບູຮານ

 

 



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

ภาษาตระกูลไท มีการใช้ร่วมกันทุกเผ่าถึงร้อยละ 90 มีแตกต่างกันบ้างก้เล็กๆ น้อยๆ

........

ไม่อย่างนั้นรุ่นลูกรุ่นหลานจะสื่อสารกันไม่รู้เรื่อง เพราะต่างถือว่าพวกเราไม่ใช่พวกเดียวกัน

 


 ກ່ອນປີ 1975 ລາວກໍ່ໃຊ້ຄໍາວ່າ ໂຮງພະຍາບາລ ເປັນສັບທາງຣາຊການ, ສ່ວນໂຮງໝໍເປັນສັບຊາວບ້ານ

ແລະມີອີກຫຼາຍໆສັບທີ່ລາວແລະໄທໃຊ້ຮ່ວມກັນ, ແຕ່ຫຼັງປີ 1975 ທ່ານພູມີ ວົງວິຈິດ ກໍ່ໄດ້ນໍາເອົາຫຼັກໄວ

ຍະກອນທີ່ເພິ່ນກັບເຈົ້າສຸກ ວົງສັກ ມາໃຊ້ ແລະລົບລ້າງຫຼັກໄວຍະກອນຂອງທ່ານມະຫາສີລາ ວິຣະວົງ.


ກໍຍ້ອນ ພູມີ ວົງວິຈິດ ແລະ ເຈົ້າສຸກ ວົງສັກ ພາກັນລົບລ້າງຫລັກວັຍະກອນລາວ ນຳເອົາພຍັນຊະນະ ໂຕສກົດ ແລະ ສຣະ ບາງອັນ

ໄປປະຫານຖີ້ມ. ຂາດການບູຣະນະປັບປຸງຍຶດໝັ້ນກົດກະຕິກາຂອງການຂຽນແລະເວົ້າຂອງສັບພາສາສາດ ຈຶ່ງເປັນຕົ້ນເຫດໃຫ້ການ

ເວົ້າແລະຂຽນພາສາລາວອ່ອນແອລົງຢ່າງໜ້າເປັນຮ່ວງເມື່ອມາທຽບໃສ່ກັບພາສາຕ່າງປະເທດ ນັບແຕ່ກາງປີ 1976 ເປັນຄົ້ນມາ.

ຖ້າຈະເອົາຕາມປວັດສາດຂອງພາສາລາວແລະສຍາມນັ້ນແມ່ນສອງຊາດນີ້ໄດ້ຮ່ວມໃຊ້ກັນມາກ່ອນກຸງສີອະຍຸທະຍາ ແຕ່ຄົນໄທບໍ່ຍອມ

ຮັບຄວາມເປັນຈິງທີ່ປວັດສາດໄດ້ບັນທຶກເອົາໄວ້ ຈຶ່ງໄດ້ທຳລາຍສວັດສາດຕົ້ນສບັບຂອງພາສາລາວ-ສຍາມນັ້ນຖິ້ມພາຍຫລັງລ້ານຊ້າງ

ໄດ້ຕົກເປັນຫົວເມືອງຂຶ້ນຂອງສຍາມ. ພວກສຍາມໄດ້ໃຫ້ນັກອັກສອນສາດຂອງພວກເຂົາປະດິດຕົວອັກສອນໄທຂຶ້ນໃໝ່ແລະໃຫ້ມີຮູບ

ຮ່າງແຕກຕ່າງກັບຕົວອັກສອນເດີມທີ່ໃຊ້ຮ່ວມກັນກັບລ້ານຊ້າງ ລ້ານນາ ແລະ ສິບສອງພັນນາ ພາຍຫຼັງ ລ້ານຊ້າງ ແລະ ລ້ານນາ ໄດ້

ຕົກເປັນຂ້າທາດຂອງສຍາມເພື່ອຍົກຣະດັບຄົນສຍາມຂຶ້ນ ແລະຄຽງຂ້າງກັບການດັດແປງຕົວອັກສອນແລ້ວກໍດັດແປງສັບພາສາບາງ

ຢ່າງ ແລະພ້ອມກັບສຳນຽງສຽງພູດຈາໃຫ້ມີຄວາມແຕກຕ່າງກັນກັບ ລາວລ້ານຊ້າງ ແລະລ້ານນາ ( ຄຳເມືອງ ) ເພື່ອເປັນການແບ່ງ

ແຍກຊົນຊັ້ນຣະຫວ່າງຂ້າທາດແລະຂຸນນາງ. ລາວລ້ານຊ້າງ ແລະ ລາວລ້ານນາ ຕ່າງກໍພະຍາຍາມສິສອນພາສາລາວໃຫ້ພວກລູຫລານ

ທີ່ເກີດໃໝ່ໃຫຍ່ລຸນຂຶ້ນມາ ແຕ່ຖືກພວກສຍາມກິດກັ້ນທຳຮ້າຍແລະສັ່ງປິດທຸກໂຮງຮຽນ ຖ້າໃຜຝືນແມ່ນຖືກໂທດຂັ້ນປະຫານ. ລາວ

ລ້ານນາພາກເໜືອຂອງໄທທຸກວັນນີ້ໄດ້ປະກາດຢຸດສອນພາສາຄຳເມືອງແລະໄດ້ມອບຕົ້ນສບັບຂອງພາສາຄຳເມືອງໃຫ້ສຍາມເອົາໄປ

ທຳລາຍຖີ້ມ ແຕ່ສຍາມຍັງເສັຍໂງ່ໃຫ້ລ້ານນາ ເພາະພວກລ້ານນາໄດ້ມີຕົ້ນສບັບສຳຮອງໄປຊຸກເຊື່ອງໄວ້ແລ້ວ ຈຶ່ງໄດ້ເອົາອອກມາໃຊ້ແລະ

ໂຊຊາວລ້ານນາວ່າເມື່ອກ່ອນກໍມີພາສາຄຳເມືອງເປັນພາສາຕົ້ນສບັບຂອງຄົນລ້ານນາ. ແລະລາວສິສອງພັນນາທີ່ຂຶ້ນກັບຫໍ້ນັ້ນ ຫໍ້ຫລື

ຈີນເຂົາບໍ່ໄດ້ຫວງຫ້າມທີ່ພວກເຂົາຈະສິດສອນລູກຫຼານຜູ້ທີ່ເກີດໃໝ່ໃຫຍ່ລຸນ ເອົາອະນຸຍາດໃຫ້ເປີດໂຮງຮຽນສອນພາສາລາວສິສອງ

ພັນນາຄວບຄູ່ໄປກັບພາສາທາງກາງກໍຄືຈີນໄປນຳກັນ. ສ່ວນລາວລ້ານຊ້າງທີ່ຖືກສຍາມກວາດຕ້ອນໄປນັ້ນ ພ້ອມກັບລາວທີ່ອາສັຍຢູ່

ພາກອິສານອະດີດກໍລາວລ້ານຊ້າງໄດ້ຖືກສຍາມສັ່ງເດັດຂາດບໍ່ໃຫ້ສອນພາສາລາວລ້ານຊ້າງໃຫ້ລູກລານຂອງເຂົາ ໃຜຝືນແມ່ນຖືກໂທດ

ຂັ້ຂຫົວຂາດອອກຈາກບ່າ. ມີໂຮງຮຽນ ຄຣູອາຈານ ແລະລູກສິດໃນພາກອິສານ ຖືກເຜົາແລະຫົວຂາດອອກຈາກບ່ານັບບໍ່ຖ້ວນ ແມ້ແຕ່

ຄຣູບາຫົ່ວເຫຼືອງຢູ່ວັດກໍຍົງປືກເຜົາທັງເປັນໄປພ້ອມກັບວັດຍ້ອນລັກເປີດໂຮງຮຽນພາສາລາວໃຕ້ດິນ. ອັນນີ້ເປັນກົດເກນການບັງຄັບ

ຂອງພວກສຍາມທີ່ເຮັດກັບລາວອິສານ ( ໄທອິສານທຸກວັນນີ້ ) ເພື່ອລົບລ້າງພາສາລາວ ດັ່ງນັ້ນໄທອິສານທີ່ມີຄົນເຊື້ອຊາດລາວລ້ານ

ຊ້າງຈຶ່ງບໍ່ໄດ້ມີຕົວອັກສອນປະຈຳເຊື້ອຊາດຕົນເອງເທົ່າທຸກວັນນີ້. ໃນປີ 1939 ປີທີ່ໄທປ່ຽນຊື່ປະເທດສຍາມມາເປັນໄທ ພາສາສຍາມກໍ

ໄດ້ປ່ຽນມາເປັນພາສາໄທໃນປີດຽວກັນນັ້ນ. ແຕ່ຄົນໄທ ແລະ ໄທອິສານເຊື້ອສາຍລາວ ບໍ່ຍອມຮັບຄວາມເປັນຈິໃຂອງປວັດສາດຄວາມ

ເປັນມາຂອງພາສາລາວ-ໄທ ວ່າໃນອະດິຕະການລາວ-ໄທໃຊ້ພາສາຮ່ວມກັນມາກ່ອນ ແລະກໍມັກກ່າວອ້າງວ່າພາສາໄທເກີດກ່ອນພາສາ

ລາວສເມີ. ຜູ້ຊະນະຈະປະກາດສິ່ງໃດອອກກໍວ່າຖືກຕ້ອງສເມີ ແຕ່ຜູ້ປລາໄຊ ເຖິງຈະເອົາຄວາມຈິງອອກມາເວົ້າກໍວ່າຜິດສເມີ.

 

 



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

ภาษาตระกูลไท มีการใช้ร่วมกันทุกเผ่าถึงร้อยละ 90 มีแตกต่างกันบ้างก้เล็กๆ น้อยๆ

........

ไม่อย่างนั้นรุ่นลูกรุ่นหลานจะสื่อสารกันไม่รู้เรื่อง เพราะต่างถือว่าพวกเราไม่ใช่พวกเดียวกัน

 


 ກ່ອນປີ 1975 ລາວກໍ່ໃຊ້ຄໍາວ່າ ໂຮງພະຍາບາລ ເປັນສັບທາງຣາຊການ, ສ່ວນໂຮງໝໍເປັນສັບຊາວບ້ານ

ແລະມີອີກຫຼາຍໆສັບທີ່ລາວແລະໄທໃຊ້ຮ່ວມກັນ, ແຕ່ຫຼັງປີ 1975 ທ່ານພູມີ ວົງວິຈິດ ກໍ່ໄດ້ນໍາເອົາຫຼັກໄວ

ຍະກອນທີ່ເພິ່ນກັບເຈົ້າສຸກ ວົງສັກ ມາໃຊ້ ແລະລົບລ້າງຫຼັກໄວຍະກອນຂອງທ່ານມະຫາສີລາ ວິຣະວົງ.


ກໍຍ້ອນ ພູມີ ວົງວິຈິດ ແລະ ເຈົ້າສຸກ ວົງສັກ ພາກັນລົບລ້າງຫລັກວັຍະກອນລາວ ນຳເອົາພຍັນຊະນະ ໂຕສກົດ ແລະ ສຣະ ບາງອັນ

ໄປປະຫານຖີ້ມ. ຂາດການບູຣະນະປັບປຸງຍຶດໝັ້ນກົດກະຕິກາຂອງການຂຽນແລະເວົ້າຂອງສັບພາສາສາດ ຈຶ່ງເປັນຕົ້ນເຫດໃຫ້ການ

ເວົ້າແລະຂຽນພາສາລາວອ່ອນແອລົງຢ່າງໜ້າເປັນຮ່ວງເມື່ອມາທຽບໃສ່ກັບພາສາຕ່າງປະເທດ ນັບແຕ່ກາງປີ 1976 ເປັນຄົ້ນມາ.

ຖ້າຈະເອົາຕາມປວັດສາດຂອງພາສາລາວແລະສຍາມນັ້ນແມ່ນສອງຊາດນີ້ໄດ້ຮ່ວມໃຊ້ກັນມາກ່ອນກຸງສີອະຍຸທະຍາ ແຕ່ຄົນໄທບໍ່ຍອມ

ຮັບຄວາມເປັນຈິງທີ່ປວັດສາດໄດ້ບັນທຶກເອົາໄວ້ ຈຶ່ງໄດ້ທຳລາຍສວັດສາດຕົ້ນສບັບຂອງພາສາລາວ-ສຍາມນັ້ນຖິ້ມພາຍຫລັງລ້ານຊ້າງ

ໄດ້ຕົກເປັນຫົວເມືອງຂຶ້ນຂອງສຍາມ. ພວກສຍາມໄດ້ໃຫ້ນັກອັກສອນສາດຂອງພວກເຂົາປະດິດຕົວອັກສອນໄທຂຶ້ນໃໝ່ແລະໃຫ້ມີຮູບ

ຮ່າງແຕກຕ່າງກັບຕົວອັກສອນເດີມທີ່ໃຊ້ຮ່ວມກັນກັບລ້ານຊ້າງ ລ້ານນາ ແລະ ສິບສອງພັນນາ ພາຍຫຼັງ ລ້ານຊ້າງ ແລະ ລ້ານນາ ໄດ້

ຕົກເປັນຂ້າທາດຂອງສຍາມເພື່ອຍົກຣະດັບຄົນສຍາມຂຶ້ນ ແລະຄຽງຂ້າງກັບການດັດແປງຕົວອັກສອນແລ້ວກໍດັດແປງສັບພາສາບາງ

ຢ່າງ ແລະພ້ອມກັບສຳນຽງສຽງພູດຈາໃຫ້ມີຄວາມແຕກຕ່າງກັນກັບ ລາວລ້ານຊ້າງ ແລະລ້ານນາ ( ຄຳເມືອງ ) ເພື່ອເປັນການແບ່ງ

ແຍກຊົນຊັ້ນຣະຫວ່າງຂ້າທາດແລະຂຸນນາງ. ລາວລ້ານຊ້າງ ແລະ ລາວລ້ານນາ ຕ່າງກໍພະຍາຍາມສິສອນພາສາລາວໃຫ້ພວກລູຫລານ

ທີ່ເກີດໃໝ່ໃຫຍ່ລຸນຂຶ້ນມາ ແຕ່ຖືກພວກສຍາມກິດກັ້ນທຳຮ້າຍແລະສັ່ງປິດທຸກໂຮງຮຽນ ຖ້າໃຜຝືນແມ່ນຖືກໂທດຂັ້ນປະຫານ. ລາວ

ລ້ານນາພາກເໜືອຂອງໄທທຸກວັນນີ້ໄດ້ປະກາດຢຸດສອນພາສາຄຳເມືອງແລະໄດ້ມອບຕົ້ນສບັບຂອງພາສາຄຳເມືອງໃຫ້ສຍາມເອົາໄປ

ທຳລາຍຖີ້ມ ແຕ່ສຍາມຍັງເສັຍໂງ່ໃຫ້ລ້ານນາ ເພາະພວກລ້ານນາໄດ້ມີຕົ້ນສບັບສຳຮອງໄປຊຸກເຊື່ອງໄວ້ແລ້ວ ຈຶ່ງໄດ້ເອົາອອກມາໃຊ້ແລະ

ໂຊຊາວລ້ານນາວ່າເມື່ອກ່ອນກໍມີພາສາຄຳເມືອງເປັນພາສາຕົ້ນສບັບຂອງຄົນລ້ານນາ. ແລະລາວສິສອງພັນນາທີ່ຂຶ້ນກັບຫໍ້ນັ້ນ ຫໍ້ຫລື

ຈີນເຂົາບໍ່ໄດ້ຫວງຫ້າມທີ່ພວກເຂົາຈະສິດສອນລູກຫຼານຜູ້ທີ່ເກີດໃໝ່ໃຫຍ່ລຸນ ເອົາອະນຸຍາດໃຫ້ເປີດໂຮງຮຽນສອນພາສາລາວສິສອງ

ພັນນາຄວບຄູ່ໄປກັບພາສາທາງກາງກໍຄືຈີນໄປນຳກັນ. ສ່ວນລາວລ້ານຊ້າງທີ່ຖືກສຍາມກວາດຕ້ອນໄປນັ້ນ ພ້ອມກັບລາວທີ່ອາສັຍຢູ່

ພາກອິສານອະດີດກໍລາວລ້ານຊ້າງໄດ້ຖືກສຍາມສັ່ງເດັດຂາດບໍ່ໃຫ້ສອນພາສາລາວລ້ານຊ້າງໃຫ້ລູກລານຂອງເຂົາ ໃຜຝືນແມ່ນຖືກໂທດ

ຂັ້ຂຫົວຂາດອອກຈາກບ່າ. ມີໂຮງຮຽນ ຄຣູອາຈານ ແລະລູກສິດໃນພາກອິສານ ຖືກເຜົາແລະຫົວຂາດອອກຈາກບ່ານັບບໍ່ຖ້ວນ ແມ້ແຕ່

ຄຣູບາຫົ່ວເຫຼືອງຢູ່ວັດກໍຍົງປືກເຜົາທັງເປັນໄປພ້ອມກັບວັດຍ້ອນລັກເປີດໂຮງຮຽນພາສາລາວໃຕ້ດິນ. ອັນນີ້ເປັນກົດເກນການບັງຄັບ

ຂອງພວກສຍາມທີ່ເຮັດກັບລາວອິສານ ( ໄທອິສານທຸກວັນນີ້ ) ເພື່ອລົບລ້າງພາສາລາວ ດັ່ງນັ້ນໄທອິສານທີ່ມີຄົນເຊື້ອຊາດລາວລ້ານ

ຊ້າງຈຶ່ງບໍ່ໄດ້ມີຕົວອັກສອນປະຈຳເຊື້ອຊາດຕົນເອງເທົ່າທຸກວັນນີ້. ໃນປີ 1939 ປີທີ່ໄທປ່ຽນຊື່ປະເທດສຍາມມາເປັນໄທ ພາສາສຍາມກໍ

ໄດ້ປ່ຽນມາເປັນພາສາໄທໃນປີດຽວກັນນັ້ນ. ແຕ່ຄົນໄທ ແລະ ໄທອິສານເຊື້ອສາຍລາວ ບໍ່ຍອມຮັບຄວາມເປັນຈິໃຂອງປວັດສາດຄວາມ

ເປັນມາຂອງພາສາລາວ-ໄທ ວ່າໃນອະດິຕະການລາວ-ໄທໃຊ້ພາສາຮ່ວມກັນມາກ່ອນ ແລະກໍມັກກ່າວອ້າງວ່າພາສາໄທເກີດກ່ອນພາສາ

ລາວສເມີ. ຜູ້ຊະນະຈະປະກາດສິ່ງໃດອອກກໍວ່າຖືກຕ້ອງສເມີ ແຕ່ຜູ້ປລາໄຊ ເຖິງຈະເອົາຄວາມຈິງອອກມາເວົ້າກໍວ່າຜິດສເມີ.

 

 


 ຜູ້ຕອບສຸດທ້າຍ ເລື່ອງປ່ຽນໄວຍາກອນໄປ ແຕ່ພາສາມັນຍັງ ກໍຄືພາສາຍັງ ພາສາລາວຍັງ ແຕ່ຫຼັກໄວຍາກອນປ່ຽນໄປ



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

ภาษาตระกูลไท มีการใช้ร่วมกันทุกเผ่าถึงร้อยละ 90 มีแตกต่างกันบ้างก้เล็กๆ น้อยๆ

........

ไม่อย่างนั้นรุ่นลูกรุ่นหลานจะสื่อสารกันไม่รู้เรื่อง เพราะต่างถือว่าพวกเราไม่ใช่พวกเดียวกัน

 


 ກ່ອນປີ 1975 ລາວກໍ່ໃຊ້ຄໍາວ່າ ໂຮງພະຍາບາລ ເປັນສັບທາງຣາຊການ, ສ່ວນໂຮງໝໍເປັນສັບຊາວບ້ານ

ແລະມີອີກຫຼາຍໆສັບທີ່ລາວແລະໄທໃຊ້ຮ່ວມກັນ, ແຕ່ຫຼັງປີ 1975 ທ່ານພູມີ ວົງວິຈິດ ກໍ່ໄດ້ນໍາເອົາຫຼັກໄວ

ຍະກອນທີ່ເພິ່ນກັບເຈົ້າສຸກ ວົງສັກ ມາໃຊ້ ແລະລົບລ້າງຫຼັກໄວຍະກອນຂອງທ່ານມະຫາສີລາ ວິຣະວົງ.


 ໂຄດແມ່ມັນນິບັກ ພູມີ ວົງວິຈິດ ບັກຂວາງໂລກເຮັດໃຫ້ພາສາລາວບໍ່ສົມບູນ



__________________
Anonymous

Date:

คุณคนลาวทั้งหลายที่ตอบกระทู้นี้ สงสัยจะอ่านไทยไม่เข้าใจจริงๆ หรือไม่ก็ในใจเต็มไปด้วยอคติ  อ่านดูดีๆ เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึง คำสมัยใหม่ คำทางวิชาการ ศัพท์เทคนิคทางวิชาการสาขาต่างๆ เช่นทางวิทนาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ฯลฯ ที่นักปราชญ์ไทยแปลคำเหล่านั้นมาจากภาษาอังกฤษ ให้เป็นคำภาษาไทย เพื่อใช้ในแวดวงวิชาการการเรียนการสอนในไทย หรือในการสื่อสารมวลชนของไทย และเมื่อคนไทยใช้กันแพร่พลาย ทั้งประเทศ มันก็มามีอิทธิพลกับการใช้ภาษาไทยของคนลาวไปด้วย(ขอยกตัวอย่างเพิ่มสักคำ เช่น vision ไทยมาแปลเป็น วิสัยทัศน์ เห็นคนลาวเขียนในเว็บนี้กันบ่อยๆ ว่า วิสัยทัด หรือ Logic ตรรกะ เห็นคนลาวในนี้เขียนบ่อยๆว่า ตักกะ อย่าปฏิเสธนะว่าไม่เคยเห็น หรือไม่เคยเขียน)

แล้วพวกคุณมาขุดอดีตสองสามร้อยปีมาด่าเค้าทำไม มันเกี่ยวกันตรงไหน เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึงปัจจุบัน(และรวมถึงอนาคต ด้วย)

ภาษาไทยใหม่ๆ มันเกิดขึ้นตลอดเวลาครับ เพราะ สังคมไทยไม่หยุดนิ่ง และเปิดกว้างสู่โลก ดูง่ายๆ ในเฟสบุ๊คของคนไทย พวกคุณจะเห็นไอเดีย ความคิดสร้างสรรค์ของคนไทยอยู่เสมอ (ซึ่งหลายครั้ง ผมเห็นคนลาวก็เลียนแบบเอาของคนไทยไปเนียนๆ) ในประเทศไทย มีการแข่งขันประกวดความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ความสามารถกันในทุกวงการตลอดเวลา มีการประวกวดวรรณกรรม กันในหลายรางวัล (เด็กไทยหลายคน อายุ15-16 ก็แต่งนิยายขายให้สำนักพิมพ์กันแล้วครับ) มีการประกวดศิลปะ มีนิทรรศการศิลปะ ทุกสัปดาห์ ตามที่ต่างๆ มีการประกวดภาพถ่าย มีนิทรรศการภาพถ่ายบ่อยๆ มีประกวดแต่งเพลง ประกวดร้องเพลง ประกวดเต้น กันอยู่บ่อยๆ มีประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ของเยาวชน ประกวดสายพันธ์พืช สายพันธ์ข้าว ประกวดสัตว์ โอ้ย ประกวดเยอะแยะไปหมดครับ (ซึ่งทำให้ผมสงสัยว่าในลาว มีการประกวดในวงการต่างๆ มั้ย เพราะไม่เคยเห็นมีข่าวการแระกวดอะไรเลย นอกจากการประกวดนางงาม)

ดูในทีวีของไทยก็ได้ครับ คนไทยถกเถียงกันในปัญหาต่างๆ ตั้งแต่เรื่องพื้นๆ จนถึงปัญหาระดับชาติ พวกคุณคนลาวอาจจะว่าไทยไม่สงบสุข แต่เพราะการที่ไทยถกเถียงขัดแย้งกันเช่นนี้ มันก็ทำให้ไทยก้าวไปข้างหน้าเรื่อยๆ นะครับ พวกคุณเป็นคอมมิวนิสต์ คงเข้าใจ ปรัชญาวิภาษวิธี (dialectic) ได้ดี

อย่าอคติ อย่ามีแต่ความเกลียดในใจนักเลยครับ อย่างมจมติดแต่กับอดีตที่พ่ายแพ้เจ็บปวดอยู่เลยครับ ถ้าไทยไม่มีลาว ไทยเฉยๆ นะครับ เพราะทุกวันนี้คนไทยส่วนใหญ่ก็แทบจะไม่ได้สนใจในประเทศลาวอยู่แล้ว นอกจากไปเที่ยวให้เห็นกับตาสักครั้ง (ครั้งเดียวก็พอแล้ว เคยมีสาวฝรั่งเขียนในบล๊อกแนวท่องเที่ยวของเค้าว่า ประเทศลาว ก็คือ ไทย ในเวอร์ชั่นที่ยากจน ขาดการพัฒนาอย่างมาก คิดเอาเองครับ ว่าโลกเค้ามองประเทศลาว ว่าอย่างไร)

ขออภัยนะครับ ถ้าโพสต์นี้ทำให้คนลาวขุ่นเคืองใจ การยอมรับความจริง บางที ทำให้ใจเป็นสุข ครับ



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

คุณคนลาวทั้งหลายที่ตอบกระทู้นี้ สงสัยจะอ่านไทยไม่เข้าใจจริงๆ หรือไม่ก็ในใจเต็มไปด้วยอคติ  อ่านดูดีๆ เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึง คำสมัยใหม่ คำทางวิชาการ ศัพท์เทคนิคทางวิชาการสาขาต่างๆ เช่นทางวิทนาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ฯลฯ ที่นักปราชญ์ไทยแปลคำเหล่านั้นมาจากภาษาอังกฤษ ให้เป็นคำภาษาไทย เพื่อใช้ในแวดวงวิชาการการเรียนการสอนในไทย หรือในการสื่อสารมวลชนของไทย และเมื่อคนไทยใช้กันแพร่พลาย ทั้งประเทศ มันก็มามีอิทธิพลกับการใช้ภาษาไทยของคนลาวไปด้วย(ขอยกตัวอย่างเพิ่มสักคำ เช่น vision ไทยมาแปลเป็น วิสัยทัศน์ เห็นคนลาวเขียนในเว็บนี้กันบ่อยๆ ว่า วิสัยทัด หรือ Logic ตรรกะ เห็นคนลาวในนี้เขียนบ่อยๆว่า ตักกะ อย่าปฏิเสธนะว่าไม่เคยเห็น หรือไม่เคยเขียน)

แล้วพวกคุณมาขุดอดีตสองสามร้อยปีมาด่าเค้าทำไม มันเกี่ยวกันตรงไหน เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึงปัจจุบัน(และรวมถึงอนาคต ด้วย)

ภาษาไทยใหม่ๆ มันเกิดขึ้นตลอดเวลาครับ เพราะ สังคมไทยไม่หยุดนิ่ง และเปิดกว้างสู่โลก ดูง่ายๆ ในเฟสบุ๊คของคนไทย พวกคุณจะเห็นไอเดีย ความคิดสร้างสรรค์ของคนไทยอยู่เสมอ (ซึ่งหลายครั้ง ผมเห็นคนลาวก็เลียนแบบเอาของคนไทยไปเนียนๆ) ในประเทศไทย มีการแข่งขันประกวดความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ความสามารถกันในทุกวงการตลอดเวลา มีการประวกวดวรรณกรรม กันในหลายรางวัล (เด็กไทยหลายคน อายุ15-16 ก็แต่งนิยายขายให้สำนักพิมพ์กันแล้วครับ) มีการประกวดศิลปะ มีนิทรรศการศิลปะ ทุกสัปดาห์ ตามที่ต่างๆ มีการประกวดภาพถ่าย มีนิทรรศการภาพถ่ายบ่อยๆ มีประกวดแต่งเพลง ประกวดร้องเพลง ประกวดเต้น กันอยู่บ่อยๆ มีประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ของเยาวชน ประกวดสายพันธ์พืช สายพันธ์ข้าว ประกวดสัตว์ โอ้ย ประกวดเยอะแยะไปหมดครับ (ซึ่งทำให้ผมสงสัยว่าในลาว มีการประกวดในวงการต่างๆ มั้ย เพราะไม่เคยเห็นมีข่าวการแระกวดอะไรเลย นอกจากการประกวดนางงาม)

ดูในทีวีของไทยก็ได้ครับ คนไทยถกเถียงกันในปัญหาต่างๆ ตั้งแต่เรื่องพื้นๆ จนถึงปัญหาระดับชาติ พวกคุณคนลาวอาจจะว่าไทยไม่สงบสุข แต่เพราะการที่ไทยถกเถียงขัดแย้งกันเช่นนี้ มันก็ทำให้ไทยก้าวไปข้างหน้าเรื่อยๆ นะครับ พวกคุณเป็นคอมมิวนิสต์ คงเข้าใจ ปรัชญาวิภาษวิธี (dialectic) ได้ดี

อย่าอคติ อย่ามีแต่ความเกลียดในใจนักเลยครับ อย่างมจมติดแต่กับอดีตที่พ่ายแพ้เจ็บปวดอยู่เลยครับ ถ้าไทยไม่มีลาว ไทยเฉยๆ นะครับ เพราะทุกวันนี้คนไทยส่วนใหญ่ก็แทบจะไม่ได้สนใจในประเทศลาวอยู่แล้ว นอกจากไปเที่ยวให้เห็นกับตาสักครั้ง (ครั้งเดียวก็พอแล้ว เคยมีสาวฝรั่งเขียนในบล๊อกแนวท่องเที่ยวของเค้าว่า ประเทศลาว ก็คือ ไทย ในเวอร์ชั่นที่ยากจน ขาดการพัฒนาอย่างมาก คิดเอาเองครับ ว่าโลกเค้ามองประเทศลาว ว่าอย่างไร)

ขออภัยนะครับ ถ้าโพสต์นี้ทำให้คนลาวขุ่นเคืองใจ การยอมรับความจริง บางที ทำให้ใจเป็นสุข ครับ


 we understand what you mean..at least we are happy that many of your words ( above ) are  still insulting us! we hope, it will make you happy too,. KHOUN PHOO DEE SIAM!!!



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

คุณคนลาวทั้งหลายที่ตอบกระทู้นี้ สงสัยจะอ่านไทยไม่เข้าใจจริงๆ หรือไม่ก็ในใจเต็มไปด้วยอคติ  อ่านดูดีๆ เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึง คำสมัยใหม่ คำทางวิชาการ ศัพท์เทคนิคทางวิชาการสาขาต่างๆ เช่นทางวิทนาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ฯลฯ ที่นักปราชญ์ไทยแปลคำเหล่านั้นมาจากภาษาอังกฤษ ให้เป็นคำภาษาไทย เพื่อใช้ในแวดวงวิชาการการเรียนการสอนในไทย หรือในการสื่อสารมวลชนของไทย และเมื่อคนไทยใช้กันแพร่พลาย ทั้งประเทศ มันก็มามีอิทธิพลกับการใช้ภาษาไทยของคนลาวไปด้วย(ขอยกตัวอย่างเพิ่มสักคำ เช่น vision ไทยมาแปลเป็น วิสัยทัศน์ เห็นคนลาวเขียนในเว็บนี้กันบ่อยๆ ว่า วิสัยทัด หรือ Logic ตรรกะ เห็นคนลาวในนี้เขียนบ่อยๆว่า ตักกะ อย่าปฏิเสธนะว่าไม่เคยเห็น หรือไม่เคยเขียน)

แล้วพวกคุณมาขุดอดีตสองสามร้อยปีมาด่าเค้าทำไม มันเกี่ยวกันตรงไหน เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึงปัจจุบัน(และรวมถึงอนาคต ด้วย)

ภาษาไทยใหม่ๆ มันเกิดขึ้นตลอดเวลาครับ เพราะ สังคมไทยไม่หยุดนิ่ง และเปิดกว้างสู่โลก ดูง่ายๆ ในเฟสบุ๊คของคนไทย พวกคุณจะเห็นไอเดีย ความคิดสร้างสรรค์ของคนไทยอยู่เสมอ (ซึ่งหลายครั้ง ผมเห็นคนลาวก็เลียนแบบเอาของคนไทยไปเนียนๆ) ในประเทศไทย มีการแข่งขันประกวดความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ความสามารถกันในทุกวงการตลอดเวลา มีการประวกวดวรรณกรรม กันในหลายรางวัล (เด็กไทยหลายคน อายุ15-16 ก็แต่งนิยายขายให้สำนักพิมพ์กันแล้วครับ) มีการประกวดศิลปะ มีนิทรรศการศิลปะ ทุกสัปดาห์ ตามที่ต่างๆ มีการประกวดภาพถ่าย มีนิทรรศการภาพถ่ายบ่อยๆ มีประกวดแต่งเพลง ประกวดร้องเพลง ประกวดเต้น กันอยู่บ่อยๆ มีประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ของเยาวชน ประกวดสายพันธ์พืช สายพันธ์ข้าว ประกวดสัตว์ โอ้ย ประกวดเยอะแยะไปหมดครับ (ซึ่งทำให้ผมสงสัยว่าในลาว มีการประกวดในวงการต่างๆ มั้ย เพราะไม่เคยเห็นมีข่าวการแระกวดอะไรเลย นอกจากการประกวดนางงาม)

ดูในทีวีของไทยก็ได้ครับ คนไทยถกเถียงกันในปัญหาต่างๆ ตั้งแต่เรื่องพื้นๆ จนถึงปัญหาระดับชาติ พวกคุณคนลาวอาจจะว่าไทยไม่สงบสุข แต่เพราะการที่ไทยถกเถียงขัดแย้งกันเช่นนี้ มันก็ทำให้ไทยก้าวไปข้างหน้าเรื่อยๆ นะครับ พวกคุณเป็นคอมมิวนิสต์ คงเข้าใจ ปรัชญาวิภาษวิธี (dialectic) ได้ดี

อย่าอคติ อย่ามีแต่ความเกลียดในใจนักเลยครับ อย่างมจมติดแต่กับอดีตที่พ่ายแพ้เจ็บปวดอยู่เลยครับ ถ้าไทยไม่มีลาว ไทยเฉยๆ นะครับ เพราะทุกวันนี้คนไทยส่วนใหญ่ก็แทบจะไม่ได้สนใจในประเทศลาวอยู่แล้ว นอกจากไปเที่ยวให้เห็นกับตาสักครั้ง (ครั้งเดียวก็พอแล้ว เคยมีสาวฝรั่งเขียนในบล๊อกแนวท่องเที่ยวของเค้าว่า ประเทศลาว ก็คือ ไทย ในเวอร์ชั่นที่ยากจน ขาดการพัฒนาอย่างมาก คิดเอาเองครับ ว่าโลกเค้ามองประเทศลาว ว่าอย่างไร)

ขออภัยนะครับ ถ้าโพสต์นี้ทำให้คนลาวขุ่นเคืองใจ การยอมรับความจริง บางที ทำให้ใจเป็นสุข ครับ


 พ่อคุณเอ๋ย พ่อจะซ้ำเติมเย้ยหยันให้มันได้อะไร คนเขาไม่เคยอยู่บ้านเรา เขาจะไปรู้เรื่องอะไร

ลาวไทยก็เผ่าเดียวกัน เป็นเพื่อนบ้านกัน ทะเลาะกันก็เข้าทางจีนกับเวียดนามเท่านั้น

คนลาวดีๆ มีเหตุมีผลยังมีอยู่ อย่าไปว่าเขาอย่างนั้น

ทุกวันนี้เขาก็พยายามยืนด้วยขาตัวเองอยู่ พ่อก็ต้องให้กำลังใจเขาบ้าง

ในโลกนี้จะเผ่าไทที่เป็นเอกราชสักกี่ประเทศ เหลียวมองดูรอบข้างบ้างว่าเผ่าพันธุ์ของพวกเราวิบัติไปกี่อาณาจักรแล้ว

อยากให้เขาเข้าใจก็ต้องอดทน ต้องให้เวลาเขาบ้าง เขาเพิ่งจะเปิดประเทศมาไม่ถึง ๓๐ ปีเองนะ

พ่อก็อย่าไปเป็นส่วนหนึ่งของการทะเลาะเบาะแว้ง อดทนอดกลั้นเอาไว้บ้างเถอะ

 

 



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

คุณคนลาวทั้งหลายที่ตอบกระทู้นี้ สงสัยจะอ่านไทยไม่เข้าใจจริงๆ หรือไม่ก็ในใจเต็มไปด้วยอคติ  อ่านดูดีๆ เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึง คำสมัยใหม่ คำทางวิชาการ ศัพท์เทคนิคทางวิชาการสาขาต่างๆ เช่นทางวิทนาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ฯลฯ ที่นักปราชญ์ไทยแปลคำเหล่านั้นมาจากภาษาอังกฤษ ให้เป็นคำภาษาไทย เพื่อใช้ในแวดวงวิชาการการเรียนการสอนในไทย หรือในการสื่อสารมวลชนของไทย และเมื่อคนไทยใช้กันแพร่พลาย ทั้งประเทศ มันก็มามีอิทธิพลกับการใช้ภาษาไทยของคนลาวไปด้วย(ขอยกตัวอย่างเพิ่มสักคำ เช่น vision ไทยมาแปลเป็น วิสัยทัศน์ เห็นคนลาวเขียนในเว็บนี้กันบ่อยๆ ว่า วิสัยทัด หรือ Logic ตรรกะ เห็นคนลาวในนี้เขียนบ่อยๆว่า ตักกะ อย่าปฏิเสธนะว่าไม่เคยเห็น หรือไม่เคยเขียน)

แล้วพวกคุณมาขุดอดีตสองสามร้อยปีมาด่าเค้าทำไม มันเกี่ยวกันตรงไหน เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึงปัจจุบัน(และรวมถึงอนาคต ด้วย)

ภาษาไทยใหม่ๆ มันเกิดขึ้นตลอดเวลาครับ เพราะ สังคมไทยไม่หยุดนิ่ง และเปิดกว้างสู่โลก ดูง่ายๆ ในเฟสบุ๊คของคนไทย พวกคุณจะเห็นไอเดีย ความคิดสร้างสรรค์ของคนไทยอยู่เสมอ (ซึ่งหลายครั้ง ผมเห็นคนลาวก็เลียนแบบเอาของคนไทยไปเนียนๆ) ในประเทศไทย มีการแข่งขันประกวดความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ความสามารถกันในทุกวงการตลอดเวลา มีการประวกวดวรรณกรรม กันในหลายรางวัล (เด็กไทยหลายคน อายุ15-16 ก็แต่งนิยายขายให้สำนักพิมพ์กันแล้วครับ) มีการประกวดศิลปะ มีนิทรรศการศิลปะ ทุกสัปดาห์ ตามที่ต่างๆ มีการประกวดภาพถ่าย มีนิทรรศการภาพถ่ายบ่อยๆ มีประกวดแต่งเพลง ประกวดร้องเพลง ประกวดเต้น กันอยู่บ่อยๆ มีประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ของเยาวชน ประกวดสายพันธ์พืช สายพันธ์ข้าว ประกวดสัตว์ โอ้ย ประกวดเยอะแยะไปหมดครับ (ซึ่งทำให้ผมสงสัยว่าในลาว มีการประกวดในวงการต่างๆ มั้ย เพราะไม่เคยเห็นมีข่าวการแระกวดอะไรเลย นอกจากการประกวดนางงาม)

ดูในทีวีของไทยก็ได้ครับ คนไทยถกเถียงกันในปัญหาต่างๆ ตั้งแต่เรื่องพื้นๆ จนถึงปัญหาระดับชาติ พวกคุณคนลาวอาจจะว่าไทยไม่สงบสุข แต่เพราะการที่ไทยถกเถียงขัดแย้งกันเช่นนี้ มันก็ทำให้ไทยก้าวไปข้างหน้าเรื่อยๆ นะครับ พวกคุณเป็นคอมมิวนิสต์ คงเข้าใจ ปรัชญาวิภาษวิธี (dialectic) ได้ดี

อย่าอคติ อย่ามีแต่ความเกลียดในใจนักเลยครับ อย่างมจมติดแต่กับอดีตที่พ่ายแพ้เจ็บปวดอยู่เลยครับ ถ้าไทยไม่มีลาว ไทยเฉยๆ นะครับ เพราะทุกวันนี้คนไทยส่วนใหญ่ก็แทบจะไม่ได้สนใจในประเทศลาวอยู่แล้ว นอกจากไปเที่ยวให้เห็นกับตาสักครั้ง (ครั้งเดียวก็พอแล้ว เคยมีสาวฝรั่งเขียนในบล๊อกแนวท่องเที่ยวของเค้าว่า ประเทศลาว ก็คือ ไทย ในเวอร์ชั่นที่ยากจน ขาดการพัฒนาอย่างมาก คิดเอาเองครับ ว่าโลกเค้ามองประเทศลาว ว่าอย่างไร)

ขออภัยนะครับ ถ้าโพสต์นี้ทำให้คนลาวขุ่นเคืองใจ การยอมรับความจริง บางที ทำให้ใจเป็นสุข ครับ


 ບັກກະເທີຍໂຄດຊົ່ວມຶງ ຈັງແມ່ນມຶງມັກດູຖູກລາວນໍບັກບອດບໍສັ່ງ



__________________


Senior Member

Status: Offline
Posts: 268
Date:

ຢ່າເວົ້າຫຼາຍເລີຍ ຄຳທີ່ໄທຄິດໃຫ້ ມາຍວານຊືນນິ ກະຍັງເອົາມາໃຊ້ລະເດ "ແຫກຕາສາມັກຄີ, ເຂົ້າຫຼາມແຈ້ງ" ເຫັນໃຊ້ກັນທົ່ວເຟສບຸກແລ້ວ

__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

คุณคนลาวทั้งหลายที่ตอบกระทู้นี้ สงสัยจะอ่านไทยไม่เข้าใจจริงๆ หรือไม่ก็ในใจเต็มไปด้วยอคติ  อ่านดูดีๆ เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึง คำสมัยใหม่ คำทางวิชาการ ศัพท์เทคนิคทางวิชาการสาขาต่างๆ เช่นทางวิทนาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ฯลฯ ที่นักปราชญ์ไทยแปลคำเหล่านั้นมาจากภาษาอังกฤษ ให้เป็นคำภาษาไทย เพื่อใช้ในแวดวงวิชาการการเรียนการสอนในไทย หรือในการสื่อสารมวลชนของไทย และเมื่อคนไทยใช้กันแพร่พลาย ทั้งประเทศ มันก็มามีอิทธิพลกับการใช้ภาษาไทยของคนลาวไปด้วย(ขอยกตัวอย่างเพิ่มสักคำ เช่น vision ไทยมาแปลเป็น วิสัยทัศน์ เห็นคนลาวเขียนในเว็บนี้กันบ่อยๆ ว่า วิสัยทัด หรือ Logic ตรรกะ เห็นคนลาวในนี้เขียนบ่อยๆว่า ตักกะ อย่าปฏิเสธนะว่าไม่เคยเห็น หรือไม่เคยเขียน)

แล้วพวกคุณมาขุดอดีตสองสามร้อยปีมาด่าเค้าทำไม มันเกี่ยวกันตรงไหน เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึงปัจจุบัน(และรวมถึงอนาคต ด้วย)

ภาษาไทยใหม่ๆ มันเกิดขึ้นตลอดเวลาครับ เพราะ สังคมไทยไม่หยุดนิ่ง และเปิดกว้างสู่โลก ดูง่ายๆ ในเฟสบุ๊คของคนไทย พวกคุณจะเห็นไอเดีย ความคิดสร้างสรรค์ของคนไทยอยู่เสมอ (ซึ่งหลายครั้ง ผมเห็นคนลาวก็เลียนแบบเอาของคนไทยไปเนียนๆ) ในประเทศไทย มีการแข่งขันประกวดความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ความสามารถกันในทุกวงการตลอดเวลา มีการประวกวดวรรณกรรม กันในหลายรางวัล (เด็กไทยหลายคน อายุ15-16 ก็แต่งนิยายขายให้สำนักพิมพ์กันแล้วครับ) มีการประกวดศิลปะ มีนิทรรศการศิลปะ ทุกสัปดาห์ ตามที่ต่างๆ มีการประกวดภาพถ่าย มีนิทรรศการภาพถ่ายบ่อยๆ มีประกวดแต่งเพลง ประกวดร้องเพลง ประกวดเต้น กันอยู่บ่อยๆ มีประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ของเยาวชน ประกวดสายพันธ์พืช สายพันธ์ข้าว ประกวดสัตว์ โอ้ย ประกวดเยอะแยะไปหมดครับ (ซึ่งทำให้ผมสงสัยว่าในลาว มีการประกวดในวงการต่างๆ มั้ย เพราะไม่เคยเห็นมีข่าวการแระกวดอะไรเลย นอกจากการประกวดนางงาม)

ดูในทีวีของไทยก็ได้ครับ คนไทยถกเถียงกันในปัญหาต่างๆ ตั้งแต่เรื่องพื้นๆ จนถึงปัญหาระดับชาติ พวกคุณคนลาวอาจจะว่าไทยไม่สงบสุข แต่เพราะการที่ไทยถกเถียงขัดแย้งกันเช่นนี้ มันก็ทำให้ไทยก้าวไปข้างหน้าเรื่อยๆ นะครับ พวกคุณเป็นคอมมิวนิสต์ คงเข้าใจ ปรัชญาวิภาษวิธี (dialectic) ได้ดี

อย่าอคติ อย่ามีแต่ความเกลียดในใจนักเลยครับ อย่างมจมติดแต่กับอดีตที่พ่ายแพ้เจ็บปวดอยู่เลยครับ ถ้าไทยไม่มีลาว ไทยเฉยๆ นะครับ เพราะทุกวันนี้คนไทยส่วนใหญ่ก็แทบจะไม่ได้สนใจในประเทศลาวอยู่แล้ว นอกจากไปเที่ยวให้เห็นกับตาสักครั้ง (ครั้งเดียวก็พอแล้ว เคยมีสาวฝรั่งเขียนในบล๊อกแนวท่องเที่ยวของเค้าว่า ประเทศลาว ก็คือ ไทย ในเวอร์ชั่นที่ยากจน ขาดการพัฒนาอย่างมาก คิดเอาเองครับ ว่าโลกเค้ามองประเทศลาว ว่าอย่างไร)

ขออภัยนะครับ ถ้าโพสต์นี้ทำให้คนลาวขุ่นเคืองใจ การยอมรับความจริง บางที ทำให้ใจเป็นสุข ครับ


 ບັກກະເທີຍໂຄດຊົ່ວມຶງ ຈັງແມ່ນມຶງມັກດູຖູກລາວນໍບັກບອດບໍສັ່ງ


 ผมไม่ใช่กะเทยครับ เป็นชายแท้ ใครมากวนตีนใกล้ๆ นี่ ผมถีบกระเด็นมาหลายคนแล้วครับ อยากให้คุณอยู่ใกล้ๆ จังครับ

ผมไม่ใช่ผู้ดีครับ และเห็นอะไรก็พูดอย่างนั้น ไม่ชอบหลับหูหลับตาอวยใคร โดยที่มันไม่จริง

การวิพากวิจารณ์ไม่ใช่การดูถูกครับ แต่ชี้ให้เห็นข้อบกพร่อง ถ้าพวกคุณไม่ยอมรับ เรื่องของพวกคุณครับ



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

คุณคนลาวทั้งหลายที่ตอบกระทู้นี้ สงสัยจะอ่านไทยไม่เข้าใจจริงๆ หรือไม่ก็ในใจเต็มไปด้วยอคติ  อ่านดูดีๆ เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึง คำสมัยใหม่ คำทางวิชาการ ศัพท์เทคนิคทางวิชาการสาขาต่างๆ เช่นทางวิทนาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ฯลฯ ที่นักปราชญ์ไทยแปลคำเหล่านั้นมาจากภาษาอังกฤษ ให้เป็นคำภาษาไทย เพื่อใช้ในแวดวงวิชาการการเรียนการสอนในไทย หรือในการสื่อสารมวลชนของไทย และเมื่อคนไทยใช้กันแพร่พลาย ทั้งประเทศ มันก็มามีอิทธิพลกับการใช้ภาษาไทยของคนลาวไปด้วย(ขอยกตัวอย่างเพิ่มสักคำ เช่น vision ไทยมาแปลเป็น วิสัยทัศน์ เห็นคนลาวเขียนในเว็บนี้กันบ่อยๆ ว่า วิสัยทัด หรือ Logic ตรรกะ เห็นคนลาวในนี้เขียนบ่อยๆว่า ตักกะ อย่าปฏิเสธนะว่าไม่เคยเห็น หรือไม่เคยเขียน)

แล้วพวกคุณมาขุดอดีตสองสามร้อยปีมาด่าเค้าทำไม มันเกี่ยวกันตรงไหน เจ้าของกระทู้เค้าพูดถึงปัจจุบัน(และรวมถึงอนาคต ด้วย)

ภาษาไทยใหม่ๆ มันเกิดขึ้นตลอดเวลาครับ เพราะ สังคมไทยไม่หยุดนิ่ง และเปิดกว้างสู่โลก ดูง่ายๆ ในเฟสบุ๊คของคนไทย พวกคุณจะเห็นไอเดีย ความคิดสร้างสรรค์ของคนไทยอยู่เสมอ (ซึ่งหลายครั้ง ผมเห็นคนลาวก็เลียนแบบเอาของคนไทยไปเนียนๆ) ในประเทศไทย มีการแข่งขันประกวดความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ความสามารถกันในทุกวงการตลอดเวลา มีการประวกวดวรรณกรรม กันในหลายรางวัล (เด็กไทยหลายคน อายุ15-16 ก็แต่งนิยายขายให้สำนักพิมพ์กันแล้วครับ) มีการประกวดศิลปะ มีนิทรรศการศิลปะ ทุกสัปดาห์ ตามที่ต่างๆ มีการประกวดภาพถ่าย มีนิทรรศการภาพถ่ายบ่อยๆ มีประกวดแต่งเพลง ประกวดร้องเพลง ประกวดเต้น กันอยู่บ่อยๆ มีประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ของเยาวชน ประกวดสายพันธ์พืช สายพันธ์ข้าว ประกวดสัตว์ โอ้ย ประกวดเยอะแยะไปหมดครับ (ซึ่งทำให้ผมสงสัยว่าในลาว มีการประกวดในวงการต่างๆ มั้ย เพราะไม่เคยเห็นมีข่าวการแระกวดอะไรเลย นอกจากการประกวดนางงาม)

ดูในทีวีของไทยก็ได้ครับ คนไทยถกเถียงกันในปัญหาต่างๆ ตั้งแต่เรื่องพื้นๆ จนถึงปัญหาระดับชาติ พวกคุณคนลาวอาจจะว่าไทยไม่สงบสุข แต่เพราะการที่ไทยถกเถียงขัดแย้งกันเช่นนี้ มันก็ทำให้ไทยก้าวไปข้างหน้าเรื่อยๆ นะครับ พวกคุณเป็นคอมมิวนิสต์ คงเข้าใจ ปรัชญาวิภาษวิธี (dialectic) ได้ดี

อย่าอคติ อย่ามีแต่ความเกลียดในใจนักเลยครับ อย่างมจมติดแต่กับอดีตที่พ่ายแพ้เจ็บปวดอยู่เลยครับ ถ้าไทยไม่มีลาว ไทยเฉยๆ นะครับ เพราะทุกวันนี้คนไทยส่วนใหญ่ก็แทบจะไม่ได้สนใจในประเทศลาวอยู่แล้ว นอกจากไปเที่ยวให้เห็นกับตาสักครั้ง (ครั้งเดียวก็พอแล้ว เคยมีสาวฝรั่งเขียนในบล๊อกแนวท่องเที่ยวของเค้าว่า ประเทศลาว ก็คือ ไทย ในเวอร์ชั่นที่ยากจน ขาดการพัฒนาอย่างมาก คิดเอาเองครับ ว่าโลกเค้ามองประเทศลาว ว่าอย่างไร)

ขออภัยนะครับ ถ้าโพสต์นี้ทำให้คนลาวขุ่นเคืองใจ การยอมรับความจริง บางที ทำให้ใจเป็นสุข ครับ


 ບັກກະເທີຍໂຄດຊົ່ວມຶງ ຈັງແມ່ນມຶງມັກດູຖູກລາວນໍບັກບອດບໍສັ່ງ


 ผมไม่ใช่กะเทยครับ เป็นชายแท้ ใครมากวนตีนใกล้ๆ นี่ ผมถีบกระเด็นมาหลายคนแล้วครับ อยากให้คุณอยู่ใกล้ๆ จังครับ

ผมไม่ใช่ผู้ดีครับ และเห็นอะไรก็พูดอย่างนั้น ไม่ชอบหลับหูหลับตาอวยใคร โดยที่มันไม่จริง

การวิพากวิจารณ์ไม่ใช่การดูถูกครับ แต่ชี้ให้เห็นข้อบกพร่อง ถ้าพวกคุณไม่ยอมรับ เรื่องของพวกคุณครับ


Don't waste your time. He is a 5 years old an idiot little boy. He is not an adult yet.



__________________
Anonymous

Date:

ดูจากภาษาและวิธีตอบคำถามในกระทู้นี้แล้ว

ทำให้เห็นถึงความสัมพันธ์กันระหว่างระดับการศึกษาและสัญชาติได้จริงๆ

 

 

อ่อ ผมไม่ได้จะสื่อว่าคนในชาติคุณมีการศึกษาต่ำเมื่อเทียบกับคนไทยหรืออะไรหรอกนะ ไม่มี้ ไม่มีเลยจริงจริ๊งง



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

ສໍາລັບຄໍາເຕັກນິກ ເຊັ່ນ: ໄຟຟ້າ ນໍ້າປະປາ ຣົຖໄຟ ... ອາດຈະແມ່ນ ເພາະໄທເລິ້ມມີຣົຖໄຟແລ່ນໃນປີ 1890

ສ່ວນລາວມີຣົຖໄຟແລ່ນໃນປີ 1893, ສ່ວນໄຟຟ້າ ນໍ້າປະປາ...ຊອກຫາບໍ່ເຫັນຂໍ້ມູນ.


ຕ້ອງກວດເບິ່ງວັດຈະນານຸກົມ ແລະ ພາສາປາລິ ສັນສະກິດ ນັກຂຽນຄົນລາວຂຽນໄວ້ຫລາຍໆຫົວ ແລະ ຫນັງສືໃບລານ ທີ່ບັນທຶກລົງໄວ້ ແຕ່ຫນ້າເສຍດາຍ ຍຸກເຈົ້າອານຸວົງ ເສຍໄຊໃຫ້ພວກສະຫຍາມ, ຫນັງສືໃບລານຖືກກວາດຕ້ອນໄປ ຮ່ວມທັງຄຳພີດີກາ

ເຄື່ອງຄ້ຳຂອງຄູນ ຊັບສິນເງິນຄຳ ເປັນຈຳນວນຫລາຍໆໂຕຊ້າງ. ຊ້ຳບໍ່ຫນຳນັກປາດອາຈານລຸ້ນນັ້ນຖືກ ກວາດຕ້ອນໄປ ສ້າງພຣະຣາຊວັງ ສ້າງຫໍພຣະແກ້ວ ຂຸດຄອງແສນແສບ. ແລະ ຖືກຂ້າຕາຍຢ່າງຫລວງຫລາຍ.

ສະນັ້ນ ຂໍ້ມູນທີຍັງກໍຢູ່ຕາມວັດວາ ທີ່ພວກສະຫຍາມ ບໍໄດ້ຈູດເຜົາທຳລາຍ, ເຊັ່ນ: ເຂດທາງນອກ ຄື: ວັດຫນອງລຳຈັນ ແລະບ່ອນອື່ນໆ. ຍຸກເຈົ້າອານຸວົງ ຜ່າຍແຜ້ສົງຄາມ ຖືກທຳລາຍຫນັກຫນ່ວງທີ່ສຸດ ຍ້ອນເຂົາເອົາໄປແລ້ວ ຍັງຈູດເຜົາທຳລາຍ. ຄົນມີຄວາມຮູ້ ມີການສຶກສາ ຄຳພີດີກາ ວັດທະນາະທັມ ຖືກເຜົາບ້ານເຜົາເມືອງ. ຈົນວຽງຈັນເປັນເມືອງຮ້າງ ຫລາຍປີ ສິ່ງທີ່ ເຫັນອີກບ່ອນກະຄືຢຸ່ວັດສີສະເກດ ຂະນາດພຣະພຸດທະຮູບແທ້ໆ ຍັງຖືກທຳລາຍ ແຕ່ທຳລາຍບໍ່ໄດ້ກະຄື ສິ່ງທີ່ຕິດພັນມາຮອດປະຈຸບັນ ຮີດສິບສອງຄອງສິບສີ່ ພາສາປາກເວົ້າ ວັດທະນະທຳ ການກິນ ວັດທະນະທຳການນຸ່ງຖື ຄົນລາວມີເອກະລັກ.

ເລື່ອງພາສາຢືມ ປະເທດຢູ່ໄກ້ກັນ ຄິດວ່າຄົງມີ ທັງສອງບາງຄຳລາວອາດຢືມ ຂອງປະເທດໄກ້ຄຽງ ບາງຄຳ ປະເທດໄກ້ຄຽງອາດຢືມຂອງລາວໄປ ການຈະເລີນທາງດ້ານເສດຖະກິດ ມັນເປັນເຄື່ອງວັດແທກບໍໄດ້ ວ່າປະເທດເສດຖະກິດດີກ່ອນ ຊິບໍ່ຢືມຂອງປະເທດຈະເລີນມາໃຊ້ ຂະນາດປະເທດສະຫະລັດ ພາສາກະຍັງໄດ້ຢືມຂອງອັງກິດ ວັດທະນະທຳຕ່າງໆ ຂອງເມກາເອງແທບຈະບໍມີ ມີແຕ່ເອົາມາຈາກຢູ່ໂຫລບເປັນສ່ວນຫລາຍ  ປະເທດຢູໂຫລບເກືອບຫມົດທະວີບ ເສດຖະກິດຍັງບໍ່ຈະເລີນທໍ່ເມກາ ແລະ ບາງບ້ານ ບາງເມືອງ ສ້າງມາຫລາຍຮອຍປີ ບາງບ້ານ ສ້າງມາ ບໍ່ຮອດຫ້າສິບປີແຕ່ຈະເລີນແຕກຕ່າງກັນ.

ເລື່ອງຊິຍົກເອົາແນວມາຂົ່ມເພິ່ນວ່າໂຕ ວ່າດີກ່ອນຄົນອື່ນຄົນອື່ນດ້ອຍກ່ອນ ຄົນເຮົາມີດີກັນຄົນລະແນວມີດີຄົນລະແບບ, ຄົນມີທັງດ້ານດີດ້ານຊົ່ວ ຄົນທຳມະດາສາມັນປະພຶດຕົວ ດີກ່ອນພວກກະສັດ ພວກເຈົ້າພວກຈອມ ກະມີຫລາຍ  ພວກກະສັດ ປະພຶດຕົວຊົ່ວຮ້າຍກ່ອນ ຄົນທຳມະດາກະມີຫລາຍ, ອັນນີ້ຢາກໃຫ້ເບິ່ງ ແບບເປັນກາງສ້າງສັນ ເອົາໃຈເຂົາມາໃສ່ໃຈເຮົາ .


 ເວົ້າຖືກໃຈ ເດີ ລຸງ



__________________
Anonymous

Date:

ໃນການສື່ສານສະໄຫມໃຫມ່ ໂລກເຮົາມີແນວໂນ້ມທີ່ຈະໃຊ້ພາສາຄືກັນ ເນື່ອງຈາກ ການສື່ສານທີ່ກ້າວຫນ້າ . ເມື່ອກ່ອນສັງຄົມມະນຸດແມ່ນແຍກກັນຢູ່ ສັງຄົມບໍ່ມີການປະຕິສຳພັນກັນ ເຮັດໃຫ້ມີວັດທະນະທຳ ແລະ ພາສາ ສະເພາະຂອງຕົນເອງ. ຕໍ່ໄປໂລກເຮົາອາດຈະມີພາສາເຫລືອຢູ່ບໍ່ຫລາຍ.



__________________
Anonymous

Date:

Don't waste your time. He is a 5 years old an idiot little boy. He is not an adult yet.

------------

 

Son of a b!tch



__________________
Anonymous

Date:

รู้หรือไม่ว่าคำหลาย ๆ ที่เป็นศัพท์เทคนิค ลาวได้ยืมคำที่ไทยคิด(โดยแปลงจากบาลีสันกฤต )มาใช้หลายคำ  เช่น  ประชาธิปไตย   ประวัติศาสตร์   วัฒนธรรม สัมมนา สาธารณสุข  รัฐสภา รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  ฯลฯ
ตัวอย่างที่มาของคำ
1. "ประวัติศาสตร์"
เกิดจากการสมาสคำภาษาบาลี "ประวัติ" (ปวตฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต "ศาสตร์" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลว่า ความรู้

"ประวัติศาสตร์" ถูกบัญญัติขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า "History" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า "พงศาวดาร" (Chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม[8]

สำหรับคำว่า history มีที่มาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า

  2.วัฒนธรรม

คำว่า วัฒนธรรม ถอดศัพท์มาจากภาษาอังกฤษว่า Culture เป็นคำที่พลตรี พระเจ้าวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัติไว้ โดยมาจากการรวมกันของสองคำ คือ วัฒน มาจาก วฑฺฒน ในภาษาบาลี หมายถึง ความเจริญงอกงาม และธรรม มาจาก ธฺรม ในภาษาสันสกฤต หมายถึง สภาพที่เป็นอยู่จริง ดังนั้นวัฒนธรรมจึงหมายถึง สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม หรือความมีระเบียบวินัย คำว่า “วัฒนธรรม” มีใช้เป็นหลักฐานทางราชการครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2483ระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งต่อมาได้ถูกยกเลิกไป โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธราช 2485น และใช้ต่อมาจนถึงปัจจุบัน   

ມັນຈະເປັນໄປໄດ້ຢ່່າງໃດຫວະວ່າລາວນໍາພາສາຂອງມັນມາໄຊ້ແຕ່ພາສາຂອງໄທຂອງມືງຄວ້ນຄົວຂືນຍັງບໍ່ຄົບຖ້ວນ ໄທຍັງບໍ່ມີໄມ້”ກົງ“ຢູ່ແລ້ວ.
ຕົວຢ່າງ:
ລາວຂຽນວ່າ=ງົງ
ໄທຂຽນວ່າ=ງງ ມັນເປັນຄໍາໄດ້ຢ່າງໃດ?
ລາວຂຽນວ່າ=ອຸບົນ
ໄທຂຽນວ່າ=ອຸບລ ມັນເປັນຄໍາໄດ້ຢ່າງໃດ?
ມືງບໍ່ມີຫຼັກຖານບົງບອກໄດ້ວ່າລາວນໍາເອົາຄຳສັບໄທມາໄຊ້ ແລະ ແຕ່ງເລື່ອງຂື້ນເອງ,ບັກສັດເອີຽ ປັນຍາໂກ່ງຄົນອື່ນ.



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
รู้หรือไม่ว่าคำหลาย ๆ ที่เป็นศัพท์เทคนิค ลาวได้ยืมคำที่ไทยคิด(โดยแปลงจากบาลีสันกฤต )มาใช้หลายคำ  เช่น  ประชาธิปไตย   ประวัติศาสตร์   วัฒนธรรม สัมมนา สาธารณสุข  รัฐสภา รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  ฯลฯ
ตัวอย่างที่มาของคำ
1. "ประวัติศาสตร์"
เกิดจากการสมาสคำภาษาบาลี "ประวัติ" (ปวตฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต "ศาสตร์" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลว่า ความรู้

"ประวัติศาสตร์" ถูกบัญญัติขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า "History" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า "พงศาวดาร" (Chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม[8]

สำหรับคำว่า history มีที่มาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า

  2.วัฒนธรรม

คำว่า วัฒนธรรม ถอดศัพท์มาจากภาษาอังกฤษว่า Culture เป็นคำที่พลตรี พระเจ้าวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัติไว้ โดยมาจากการรวมกันของสองคำ คือ วัฒน มาจาก วฑฺฒน ในภาษาบาลี หมายถึง ความเจริญงอกงาม และธรรม มาจาก ธฺรม ในภาษาสันสกฤต หมายถึง สภาพที่เป็นอยู่จริง ดังนั้นวัฒนธรรมจึงหมายถึง สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม หรือความมีระเบียบวินัย คำว่า “วัฒนธรรม” มีใช้เป็นหลักฐานทางราชการครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2483ระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งต่อมาได้ถูกยกเลิกไป โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธราช 2485น และใช้ต่อมาจนถึงปัจจุบัน   


 We don't trust any history that started out from Chakri Dynasty, Why don't you go way way back when Lopburi still running ?



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
รู้หรือไม่ว่าคำหลาย ๆ ที่เป็นศัพท์เทคนิค ลาวได้ยืมคำที่ไทยคิด(โดยแปลงจากบาลีสันกฤต )มาใช้หลายคำ  เช่น  ประชาธิปไตย   ประวัติศาสตร์   วัฒนธรรม สัมมนา สาธารณสุข  รัฐสภา รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  ฯลฯ
ตัวอย่างที่มาของคำ
1. "ประวัติศาสตร์"
เกิดจากการสมาสคำภาษาบาลี "ประวัติ" (ปวตฺติ) ซึ่งหมายถึง เรื่องราวความเป็นไป และคำภาษาสันสกฤต "ศาสตร์" (ศาสฺตฺร) ซึ่งแปลว่า ความรู้

"ประวัติศาสตร์" ถูกบัญญัติขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเทียบเคียงกับคำว่า "History" และเพื่อให้มีความหมายครอบคลุมมากกว่าคำว่า "พงศาวดาร" (Chronicle) ที่ใช้กันมาแต่เดิม[8]

สำหรับคำว่า history มีที่มาจากคำว่า historia ในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายว่าการไต่สวนหรือค้นคว้า

  2.วัฒนธรรม

คำว่า วัฒนธรรม ถอดศัพท์มาจากภาษาอังกฤษว่า Culture เป็นคำที่พลตรี พระเจ้าวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงบัญญัติไว้ โดยมาจากการรวมกันของสองคำ คือ วัฒน มาจาก วฑฺฒน ในภาษาบาลี หมายถึง ความเจริญงอกงาม และธรรม มาจาก ธฺรม ในภาษาสันสกฤต หมายถึง สภาพที่เป็นอยู่จริง ดังนั้นวัฒนธรรมจึงหมายถึง สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม หรือความมีระเบียบวินัย คำว่า “วัฒนธรรม” มีใช้เป็นหลักฐานทางราชการครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2483ระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งต่อมาได้ถูกยกเลิกไป โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พุทธราช 2485น และใช้ต่อมาจนถึงปัจจุบัน   

ມັນຈະເປັນໄປໄດ້ຢ່່າງໃດຫວະວ່າລາວນໍາພາສາຂອງມັນມາໄຊ້ແຕ່ພາສາຂອງໄທຂອງມືງຄວ້ນຄົວຂືນຍັງບໍ່ຄົບຖ້ວນ ໄທຍັງບໍ່ມີໄມ້”ກົງ“ຢູ່ແລ້ວ.
ຕົວຢ່າງ:
ລາວຂຽນວ່າ=ງົງ
ໄທຂຽນວ່າ=ງງ ມັນເປັນຄໍາໄດ້ຢ່າງໃດ?
ລາວຂຽນວ່າ=ອຸບົນ
ໄທຂຽນວ່າ=ອຸບລ ມັນເປັນຄໍາໄດ້ຢ່າງໃດ?
ມືງບໍ່ມີຫຼັກຖານບົງບອກໄດ້ວ່າລາວນໍາເອົາຄຳສັບໄທມາໄຊ້ ແລະ ແຕ່ງເລື່ອງຂື້ນເອງ,ບັກສັດເອີຽ ປັນຍາໂກ່ງຄົນອື່ນ.


 ຢ່າໄປເວົ້າອັດລາວຄັກຫລາຍ ມັນແຮງຫາທາງທັບຖົມຄົນລາວ ທັບຖົມຄວາມເປັນລາວຫາທາງໂຈມຕີ ມາຂົ່ມເພິ່ນຍໍໂຕ,

ໃຫ້ຄິດຕັກກະງ່າຍໆ ຄຳພີດີກາ ຫນັງສືຜູກໃບລານ ພຣະພຸດທະຮູບ ເຄື່ອງເກົ່າຂອງແກ່ ຮວມທັງຄົນລາວ ໃນຍຸກຜ່າຍແພ້ສົງຄາມ, ພວກສັກດີນາສະຫຍາມ ກວາດຕ້ອນເອົາໄປຫລວງຫລາຍພາຍມາກ, ແລ້ວເອົາພາສາລາວເດີມເຫລົ່ານັ້ນ ໄປປະຍຸກໃຊ້ ດັດແປງເປັນພາສາສະຫຍາມ ຫລືພາສາໄທ, ແລະ ຄົນເຊື້ອສາຍລາວ ທີ່ມີສັດຊາດໄທ, ຍັງເວົ້າພາສາລາວຂ້ອນປະເທດໄທ, ຄັນຊິຫາທາງເອົາຊະນະກັນດວ້ຍການຂົ່ມກັນ ມັນບໍສິ້ນສຸດຈັກເທື່ອດອກ ແມ່ນໄຜກະຍົກເອົາຕອນຕົນເອງໄດ້ປຽບມາເວົ້າ ແຕ່ຄວາມຈິງກໍຄືຄວາມ, ປິ້ນບໍ່ໄດ້ ເຂົາເອົາເຄື່ອງຄ້ຳຂອງຄູນລາວໄປ ເຂົາກໍຕ້ອງເອົາໄປປະຍຸກໃຊ້ ຢ່າງປາສະຈາກບໍໄດ້ເດັດຂາດ. ນິທານພື້ນເມືອງລາວມີຫລາຍເລ່ືອງທີ່ ຄົນໄທເອົາໄປສ້າງເປັນ ຫນັງເປັນລະຄອນ.

ຄັນເອົາຫລັກການແລະເຫດຜົນແບບກາງໆເວົ້າກັນ, ເລ່ື່ອງພາສາລາວ ທີ່ຍັງບໍ່ສົມບູນ ຍ້ອນປົດປ່ອຍມາ ແລ້ວຜູ້ມີອຳນາດ ຄື ທ່ານພູມີໄປປ່ຽນ ພາສາລາວກະເລີຍ ເປັນຄືເຫັນ, ແຕ່ຍຸກປະຫວັດສາດພາສາລາວກໍອຸດົມສົມບູນ ແຕ່ກ່ອນລາວຕົກເປັນຫົວເມືອງຂື້ນຂອງສະຫຍາມ ລາວກະມີຄຳພີດີກາ ມີອັກສອນມາຫລາຍຮ້ອຍຫລາຍພັນປີແລ້ວ.  ຄົນລາວມີອັກສອນລາວເດີມ ມີອັກສອນທຳ. ເຊິ່ງເປັນຂອງຕົວເອງຢຸູ່ແລ້ວ. ເຊິ່ງການປະຍຸກ ການພັດທະນາຂອງພາສາມັນເປັນທຳມະຊາດຂອງມັນ. ຖ້າຄົນມີລະດັບການສຶກສາ ເຂົາຊິເອົາຫລັກການແລະເຫດຜົນ ແບບເປັນກາງສ້າງສັນ ເວົ້າກັນ ບໍ່ເວົ້າເພື່ອຂົມເພິ່ນຍໍໂຕ. ຄັນຢາກຮູ້ປະຫວັດສາດ ທີ່ຄົນໄທຍເວົ້າເອງ ໃຫ້ເຂົ້າໄປເຊິດເບິ່ງໃນຢູ່ທູບ ຫລື ເຟສບຸກ ຊື່ມະຫາວິທະຍາໄລປະຊາທິປະໄຕປະຊາຊົນ ຈັດໂດຍຄົນໄທເອງ ຮູ້ລະອຽດລະອໍດີ. ເລື່ອງປະຫວັດສາດ ເລື່ອງປະຈຸບັນ.



__________________
Anonymous

Date:

ມີແຕ່ໄທ ເອົາສັບລາວໄປໃຊ້ ແລະ ກໍ່ແຍກບາງສັບອອກ ບໍ່ໃຫ້ຄືກັບລາວ

 

ອັນພາສານັ້ນ ມີເຄົ້າມາດັ່ງນີ້ແລ 

ຈາກພາສາລາວເດີມ, ພາສາປາລີ ແລະ ພາສາສັນສະກຣິດ 

ແລະພາສາທີ່ຄິດຄົ້ນໃໝ່ ຕາມຍົກສະໄໝ

 

ລາວເຮົາມີພາສາຕັ້ງນານແລ້ວ ຂ້ອຍວ່າ ເປັນ 1000 ປີ ແລ້ວບໍ

ໄປສຶກສາເບິ່ງຕາມວັດ ຫລືໃນໃບລານເດີ ແລ້ວຈະຮູ້

 

ນັກກາວີ ແລະ ນັກພາສາສາດ ຂອງລາວເຮົາ ໄດ້ຄົ້ນຄວ້າ ແລະ ນຳໃຊ້ພາສາລາວ ມາ

ເປັນເວລາດົນແລ້ວ ແຕ່ພາສເກົ່າລາວແມ່ນ ໂຕມົນ(ໂຕທັມ) ຢູ່ໃນໜັງສືໃບລານ

ແລະເພິ່ນ ມາປະຍຸກ ໃຫ້ເປັນໂຕຫລ່ຽມ ໃຊ້ກັນໃຈປະຈຸບັນນີ້ ໄດ້ຕັ້ງຫລາຍ 100 ປີມາແລ້ວ

 

ລະຫວ່າງກ່ອນ 1700 ປີທີ່ຜ່ານມາ ລາວເຮົາຕັ້ງພູມລຳເນົາຢູ່ເຂດຢູນານ

ລາວເຮົາກໍ່ໄດ້ມີພາສາໃຊ້ເປັນທາງການຢູ່ແລ້ວ 

ກ່ອນທີ່ຈະຖືກ ຄຸບໄລ່ຄານ ຂອງມົງໂກນຕີແຕກ ແລະຖອຍລົງມາ

 

ໄທຫາກໍ່ມີນັກ ພາສາສາດ ແລະໄດ້ຄົ້ນເອົາສັບຈຳນວນໜຶ່ງມາຈາກ ພາສາປາລີ ແລະ ສັນສະກຣິດ

ຫາກໍ່ຄົ້ນໄດ້ ແລະວ່າລາວເຮົາຢືມໄປໃຊ້

ໂລດບໍ່ຮູ້ວ່າລາວເຮົາ ຄົ້ນໄດ້ເປັນຕັ້ງ 100 ຕັ້ງ 1000 ປີ ມາແລ້ວ

 

ແລະທ່ານພູມີ ໄດ້ມາຕັດອອກບາງສ່ວນ ຫລັງຈາກລາວປ່ຽນການປົກຄອງ ປີ 1975 ນີ້ອີກ

ເຮັດໃຫ້ພາສາລາວບາງສ່ວນຂາດຫາຍໄປ. 

ແຕ່ວ່າ ຢູ່ຕາມວັດວາອາຮາມ ຍັງຄົງໃຊ້ເໝືອນເດີມ

 

ເຮັດຈັ່ງໃດວ່າລາວ ຢືມພາສາໄທໄປໃຊ້ 

 

ເຈົ້າບໍ່ຮູ້ຄັກຢ່າມາອວດຂີ້ສະຫາວຫລາຍ

 

ຫລັກໄວຍາກອນຂອງລາວມີຄົບຖ້ວນບໍຣິບູນທຸກຢ່າງ

 



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ມີແຕ່ໄທ ເອົາສັບລາວໄປໃຊ້ ແລະ ກໍ່ແຍກບາງສັບອອກ ບໍ່ໃຫ້ຄືກັບລາວ

 

ອັນພາສານັ້ນ ມີເຄົ້າມາດັ່ງນີ້ແລ 

ຈາກພາສາລາວເດີມ, ພາສາປາລີ ແລະ ພາສາສັນສະກຣິດ 

ແລະພາສາທີ່ຄິດຄົ້ນໃໝ່ ຕາມຍົກສະໄໝ

 

ລາວເຮົາມີພາສາຕັ້ງນານແລ້ວ ຂ້ອຍວ່າ ເປັນ 1000 ປີ ແລ້ວບໍ

ໄປສຶກສາເບິ່ງຕາມວັດ ຫລືໃນໃບລານເດີ ແລ້ວຈະຮູ້

 

ນັກກາວີ ແລະ ນັກພາສາສາດ ຂອງລາວເຮົາ ໄດ້ຄົ້ນຄວ້າ ແລະ ນຳໃຊ້ພາສາລາວ ມາ

ເປັນເວລາດົນແລ້ວ ແຕ່ພາສເກົ່າລາວແມ່ນ ໂຕມົນ(ໂຕທັມ) ຢູ່ໃນໜັງສືໃບລານ

ແລະເພິ່ນ ມາປະຍຸກ ໃຫ້ເປັນໂຕຫລ່ຽມ ໃຊ້ກັນໃຈປະຈຸບັນນີ້ ໄດ້ຕັ້ງຫລາຍ 100 ປີມາແລ້ວ

 

ລະຫວ່າງກ່ອນ 1700 ປີທີ່ຜ່ານມາ ລາວເຮົາຕັ້ງພູມລຳເນົາຢູ່ເຂດຢູນານ

ລາວເຮົາກໍ່ໄດ້ມີພາສາໃຊ້ເປັນທາງການຢູ່ແລ້ວ 

ກ່ອນທີ່ຈະຖືກ ຄຸບໄລ່ຄານ ຂອງມົງໂກນຕີແຕກ ແລະຖອຍລົງມາ

 

ໄທຫາກໍ່ມີນັກ ພາສາສາດ ແລະໄດ້ຄົ້ນເອົາສັບຈຳນວນໜຶ່ງມາຈາກ ພາສາປາລີ ແລະ ສັນສະກຣິດ

ຫາກໍ່ຄົ້ນໄດ້ ແລະວ່າລາວເຮົາຢືມໄປໃຊ້

ໂລດບໍ່ຮູ້ວ່າລາວເຮົາ ຄົ້ນໄດ້ເປັນຕັ້ງ 100 ຕັ້ງ 1000 ປີ ມາແລ້ວ

 

ແລະທ່ານພູມີ ໄດ້ມາຕັດອອກບາງສ່ວນ ຫລັງຈາກລາວປ່ຽນການປົກຄອງ ປີ 1975 ນີ້ອີກ

ເຮັດໃຫ້ພາສາລາວບາງສ່ວນຂາດຫາຍໄປ. 

ແຕ່ວ່າ ຢູ່ຕາມວັດວາອາຮາມ ຍັງຄົງໃຊ້ເໝືອນເດີມ

 

ເຮັດຈັ່ງໃດວ່າລາວ ຢືມພາສາໄທໄປໃຊ້ 

 

ເຈົ້າບໍ່ຮູ້ຄັກຢ່າມາອວດຂີ້ສະຫາວຫລາຍ

 

ຫລັກໄວຍາກອນຂອງລາວມີຄົບຖ້ວນບໍຣິບູນທຸກຢ່າງ

 


 ຊ໋ຽວຊານພາສາ ຜູ້ວ່າພາສາໄທເປັນຕົ້ນກຳເນີດ ພາສາລາວ ບໍ່ເຫັນເຂົ້າມາຕອບກະທູ້ເລີຍນໍ?

ເປັນຕົ້ນແມ່ນໄມ້ກົງ, ນາງງາມ ໄທກະເອົາພາສາລາວໄປໃຊ້ ຍ້ອນງາມຄົນລາວກະວ່າງາມ, ສ່ວນຄົນໄທເອີ້ນຄົນງາມວ່າສວຍ ທຳມະດາຄົນໄທ ຕ້ອງເອີ້ນປະກວດນາງສາວສວຍ.

ແລະເວົ້າເລື່ອງເອກະລັກ ທີ່ຄົນລາວມີ ພາສາປາກເວົ້າ ວັດທະນະທຳການນຸ່ງຖື ນຸ່ງສິ້ນ ໃສ່ຜ້າບ່ຽງພາດບ່າເຂົ້າວັດຟັງທຳ ມີອາຫານທີ່ເປັນເອກະລັກ ປາແດກ ຕຳຫມາກຫຸ່ງ ລາບ ກ້ອຍ ເຂົ້າຫນຽວ ແລະມີຫລວງຫລາຍພາຍມາກ ສ່ວນຄົນລາວ ທີ່ຢູ່ໃນພາກກາງ ຂອງໄທ ຫັນປ່ຽນໄປກິນເຂົ້າຈ້າວ ຍ້ອນເຮັດພວກເພີ່ນເຄີຍເປັນຂ້າທາດ ພວກສັກດີນາ ເຮັດໄຮ່ໄຖນາ ປູກຝັງລ້ຽງສັດ ຫາຢູ່ຫາກິນລ້ຽງພວກສັກດີນາສະຫຍາມ ແລະ ຫວ່າງຫ້າຫົກສິບປີຄືນ ຫລັງ ພວກນີ້ເຮັດບັດປະຈຳຕົວ ບັດປະຊາຊົນໄທ ຍັງໄດ້ ໃສ່ວ່າມີສັນຊາດໄທ ເຊື້ອສາຍລາວ ອັນນີ້ເຂົ້າຟັງຈາກຢູ່ທູບ ເລື່ອງເຈົ້າເລື່ອງຈອມຂອງໄທ ຄົນໄທຈັດລາຍການເອງແທ້ໆ, ແລະ ເປັນຫຍັງ ຫນັງສືໃບລານ ຫນັງສືທຳ ພຣະພຸດທະຮູບສິ່ງປູກສ້າງ ໃນເຂດພາກອີສານຂອງໄທ ຈິ່ງບໍຍັງເຫລືອຫນ້ອຍທີ່ເປັນເອກະລັກ ລ້ານຊ້າງ ຍ້ອນ ສັກດີນາສະຫຍາມໄດ້ກວາດຕ້ອນເອົາໄປ ແລະ ສັ່ງຫ້າມສິດສອນ ກັນຈຳຕ້ອງໄດ້ລັກສິດສອນ ຖ້າເຂົາຮູ້ຖືກຕັດຫົວ, ພຣະທາດພຣະນົມ ຫລົ່ມ ເຄື່ອງຂອງຕ່າງໆ ທີ່ຄົນລາວ ສອງຝາກຝັ່ງແມ່ນ້ຳຂອງ ເອົາໄປໃສ່ໄວ້ໃນພຣະທາດພຣະນົມ ຈຳນວນຫລວງຫລາຍພາຍມາກ, ເມື່ອທາດເປ່ເພສິ່ງຂອງເຫລົ່ານັ້ນຖືກຂົ່ນສົ່ງລົງໄປບາງກອກ ຮວມທັງພຣະພຸດທະຮູບ, ສະນັ້ນໃນເຂດເດີ່ນທາດ ຈິ່ງເຫັນທີ່ເປັນສິລະປະລາວລ້ານຊ້າງ ຍັງເຫລືອແຕ່ສິ່ງປຸກສ້າງໃຫຍ່ໆທີ່ເປັນເອກະລັກລາວລ້ານຊ້າງ ຄືຍອດຊໍ່ຟ້າ ຮູບຊົງ ຍອດພຣະທາດ ທີ່ກະສັດລາວແຕ່ລະຍຸກໄປປະຕິສັງຂອນ.

ໃນສະໄຫມເຈົ້າວ່າຟ້າງຸ່ມ ບົ່ງບອກສັນຍາລັກຄວາມເປັນລາວ ທີ່ຄົນລາວພູມໃຈສູດໆ ວ່າ: ບ່ອນໄດມີຄົນ ເຮື່ອນເປັນຮ້ານ ກິນເຂົ້າໜຽວ ຄ້ຽວປາແດກ ເປົ່າແຄນ ຟ້ອນລຳ ດັ່ງນີ້ເປັນຕົ້ນ.



__________________
Anonymous

Date:

ຄົນໄທຍ ຄົນດຽວແກ້ງເວົ້າເພື່ອ ຢອກຫຼິ້ນຊື່ໆ ບໍ່ຕ້ອງເອົາຈິງເອົາຈັງຫຼາຍກໍ່ດີຕີ



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ຄົນໄທຍ ຄົນດຽວແກ້ງເວົ້າເພື່ອ ຢອກຫຼິ້ນຊື່ໆ ບໍ່ຕ້ອງເອົາຈິງເອົາຈັງຫຼາຍກໍ່ດີຕີ


 we need to teach them the lesson hardly. so they'll know Lao people are strong and far more civilization then them ( Siamese! ) 



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

 


 we need to teach them the lesson hardly. so they'll know Lao people are strong and far more civilization then them ( Siamese! ) 


 I think you are probably Lao nai. Your writing is grammatically wrong.

 

"We need to teach them the lesson hardly". Hardly is not an adverb for hard. The word "HARD" can be both adjective and adverb by itself. 

The meaning of hardly is barely, almost none, scarcely, slightly. SO if you say you want to teach someone a lesson hardly, what this actually means is that 

you want to teach them almost nothing. 

 

"Lao people are strong and far more civilization then them" ===> Something wrong here. 

Lao people are strong ==> this is fine

And Lao people are far more civilization than them==> wrong sentence structure. If you want to compare the degree of civilization between Laos and Thailand, you

should use adjective, not noun. 

 

"Lao people are far more civilized than the Thai" ====> correct



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

 


 we need to teach them the lesson hardly. so they'll know Lao people are strong and far more civilization then them ( Siamese! ) 


 I think you are probably Lao nai. Your writing is grammatically wrong.

 

"We need to teach them the lesson hardly". Hardly is not an adverb for hard. The word "HARD" can be both adjective and adverb by itself. 

The meaning of hardly is barely, almost none, scarcely, slightly. SO if you say you want to teach someone a lesson hardly, what this actually means is that 

you want to teach them almost nothing. 

 

"Lao people are strong and far more civilization then them" ===> Something wrong here. 

Lao people are strong ==> this is fine

And Lao people are far more civilization than them==> wrong sentence structure. If you want to compare the degree of civilization between Laos and Thailand, you

should use adjective, not noun. 

 

"Lao people are far more civilized than the Thai" ====> correct


 thank you brother! i love you all nork and nai! thanks again!!!



__________________
Page 1 of 1  sorted by
Quick Reply

Please log in to post quick replies.



Create your own FREE Forum
Report Abuse
Powered by ActiveBoard