Pasalao

Members Login
Username 
 
Password 
    Remember Me  
Post Info TOPIC: ອັກສອນລ້ານນາ ຄືກັນກັບ ອັນສອນລາວບໍ່ ຊ່ອຍເບິ່ງແນ່
Anonymous

Date:
ອັກສອນລ້ານນາ ຄືກັນກັບ ອັນສອນລາວບໍ່ ຊ່ອຍເບິ່ງແນ່


study_m4_1.jpg

อักษรล้านนาคืออักษรธรรมของลาวในปัจจุบัน แล้วตรงกับอักษรลาวในปัจจุบันไหม



__________________
Anonymous

Date:
RE: อักษรล้านนาเหมือนอักษรลาวไหมช่วยดูหน่อย


Not similar, I think it's more look like Myanmar.

__________________
Anonymous

Date:

ລ້ວນແລ້ວເໝືອນກັບອັກສອນທັມຂອງລາວໃນປັຈຸບັນ, ຈະເວົ້າແລ້ວລາວລ້ານຊ້າງກໍໃຊ້ອັກສອນດັ່ງລາວ

ລ້ານນານີ້ແລ້ວໃນເມື່ອກ່ອນ.



__________________
Anonymous

Date:

อักษรล้านนา จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับอักษรพม่า และ อักษรมอญ 

 

ล้านนา 

13704.gif

 

พม่า 

220px-Burmese_alphabet.png



__________________
Anonymous

Date:

แนวนี้แมจื่งแม่น ส้างสัน  บ่แม่นชิมาผิดกัน กับเรื่อง ปะหวัดสาด



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

แนวนี้แมจื่งแม่น ส้างสัน  บ่แม่นชิมาผิดกัน กับเรื่อง ปะหวัดสาด


 You're right, Cherrrrrr. Nueng Jock...



__________________


Senior Member

Status: Offline
Posts: 101
Date:

http://www.chiangmai-thailand.net/poom-punya-lanna/taumuang-lanna_font.html
ตั๋วเมือง ภูมิปัญญาล้านนา

ความนำ

อาณาจักรล้านนาในเชิงวัฒนธรรม
ถือเอาว่าหมายถึงเดินแดนในภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน อันได้แก่จังหวัด
เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา แพร่ น่าน แม่ฮ่องสอน ลำพูน และลำปาง
รวมตลอดไปถึงรัฐเชียงตุงในเขตประเทศสหภาพพม่า
และแคว้นสิบสองพันนาในเขตประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

ประชากรในเขตดังกล่าวมีพื้นฐานร่วมกันที่สำคัญยิ่งคือ ความเป็นชนเผ่าไท (The Tai Races)
ซึ่งมีพื้นฐานทางภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณีที่คล้ายคลึงกัน
และโดยเฉพาะสิ่งที่ทำให้ประชาชนเหล่านั้นผูกพันกันอย่างแนบแน่น ก็คือความเชื่อในพุทธศาสนา
และสิ่งที่โยงใยให้เกิดมาตรฐานร่วมของความรู้ความคิด และความเชื่อในหมู่ชนทั้งปวง
ก็คือการที่ใช้อักษรแบบเดียวกันในการบันทึกคัมภีร์ทางพุทธศาสนา
และรวมตลอดถึงคัมภีร์ที่บันทึกความรู้ต่าง ๆ

และจากการที่เอกสารเล่านั้นมีการคัดลอกต่อเนื่องกันมาทั้งในแง่การคัดลอกต่อ
เนื่องในท้องถิ่นและการคัดลอกข้ามถิ่น
อักษรที่ปรากฎในการบันทึกเอกสารนานาชนิดในเขตล้านนานี้อาจพบได้ว่ามีถึง ๓ ระบบ คือ

๑. อักษรธรรมล้านนา คือ อักษรที่นิยมใช้จารคัมภีร์พุทธศาสนาทั่วไป
๒. อักษรไทนิเทศ หรือ อักษรขอมเมือง นิยมใช้บันทึกกวีนิพนธ์ประเภทโคลง และจารในใบลาน
๓. อักษรฝักขาม คืออักษรที่ปรับปรุงจากอักษรสุโขทัย นิยมใช้ในงานประเภทศิลาจารึก

แต่ในที่นี้จะขอกล่าวเพียงอักษรธรรมล้านนาเท่านั้น
อักษรธรรมล้านนานี้เป็นชื่อนิยมใช้เรียกในเชิงวิชาการ แต่ในหมู่ประชาชนทั่วไปอาจเรียกว่า
ตัวเมือง หรือ อักขระเมือง จากการศึกษาของผู้รู้หลายท่านก็อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า
อักษรชนิดนี้พัฒนาขึ้นจากอักษรมอญโบราณแห่งอาณาจักรหริภุญชัยในช่วงประมาณ พ.ศ. ๑๖๐๐
และก็อาจสืบโยงต้นเค้าไปถึงอักษรพราหมี ของพระเจ้าอโศกแห่งอินเดียได้ด้วย
อักษรธรรมล้านนานี้ นิยมใช้ในการจารคัมภีร์ใบลานซึ่งเป็นคัมภีร์ทางพุทธศาสนา
ซึ่งมีคัมภีร์ชื่อต่าง ๆ ประมาณ ๒๐๐๐ ชื่อ นอกจากนี้ยังนิยมใช้บันทึกความรู้ต่าง ๆ
ในรูปของสมุดที่ทำขึ้นจากเปลือกของ ไม้สา เรียกว่า พับสา หรือ พับหนังสา
ซึ่งเป็นเสมือนตำราหรือคู่มือของนักวิชาการพื้นบ้านล้านนาได้เป็นอย่างดี
ในการเสนอแนวการเรียนอักขระชนิดนี้
ใคร่จะเสนอว่าน่าจะเรียนการเขียนภาษาล้านนาหรือล้านนาไทยเสียก่อนพอให้เข้าใจ
จากนั้นจึงจะเรียนการใช้อักษรนี้ในการบันทึกภาษาอื่น เช่น ภาษาบาลีสันสกฤต เป็นต้น

อักษรธรรมล้านนา ( ตั๋วเมือง )

อักษรธรรมล้านนา หรือตัวเมือง เป็นอักษรที่สำคัญ และแพร่หลายในล้านนามาก
การกำเนิดอักษรธรรมล้านนาก็คล้ายกับการกำเนิดอักษรทั้งหลาย
คือ ปรับปรุงจากอักษรที่มีอยู่เป็นระบบมาแล้ว คือ อักษรมอญ
หลักฐานเกี่ยวกับการกำเนิดอักษรธรรมล้านนาไม่ปรากฎ
หลักฐานอักษรธรรมล้านนาเก่าที่สุดเท่าที่พบในปัจจุบัน คือ จารึกลานทอง พบที่สุโขทัย
จารึกได้ระบุศักราชไว้ตรงกับ พ.ศ. ๑๙๑๙ อย่างไรก็ตาม ยังไม่พบหลักฐานว่า
อักษรธรรมล้านนาเกิดขึ้นในสมัยใด เพราะอักษรธรรมล้านนามีกำเนิดจากพัฒนาการของภาษา
คือ ค่อยๆเปลี่ยนแปลงทีละน้อยจึงอาศัยเวลานาน การกำเนิดอักษรธรรมล้านนา
มีสาเหตุสำคัญมากจาความจำเป็นทางศาสนาเพื่อเขียนพระธรรมคำภีร์ให้เป็นสื่อ
แก่คนในวงกว้าง อักษรธรรมล้านนาจึงเริ่มต้นจากการใช้เขียนภาษาบาลีเป็นหลัก
ต่อมาดัดแปลงเพื่อใช้เขียนภาษาเมืองด้วย

อักษรธรรมล้านนา หรือ ตั๋วเมือง มักใช้จารบนคัมภีร์ใบลาน พับสา เอกสารโบราณ
โดยเฉพาะเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับศาสนา
เช่น ตำราภาษาบาลี ชาดก เรื่องราวการกัลปนาสิ่งของแก่วัด
นอกจากนั้นยังใช้บันทึกเอกสารต่างๆ อันเกี่ยวเนื่องในพุทธศาสนา ตำราโหราศาสตร์
ตำราแพทย์ บทกวีนิพนธ์ และคร่าวซอ

การใช้อักษรธรรมล้านนามักจะขาดช่วงหรือชะงักไปบ้างตามความผันผวนของเหตุการณ์บ้านเมือง
แต่ก็ยังสามารถสืบทอดกันตลอดมาได้เป็นอย่างดี จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๔๘๓
เมื่อมีการประกาศใช้รัฐนิยม ฉบับที่ ๓ ว่าด้วย ภาษาและหนังสือกับหน้าที่พลเมือง
ห้ามการเรียนการสอนอักษรท้องถิ่น การใช้อักษรธรรมล้านนาจึงหยุดชะงักไปเป็นเวลานาน
ประกอบกับความแพร่หลายในการใช้อักษรไทยปัจจุบันของสื่อมวลชนทุกแขนง
การใช้อักษรธรรมล้านนาจึงเสื่อมลงตามลำดับ
ปัจจุบันได้มีความพยายามที่จะฟื้นฟูอักษรธรรมล้านนาขึ้นอีก
โดยได้จัดให้มีการเรียนการสอนอักษรธรรมล้านนาตามวัดในภาคเหนือ
และสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งมหาวิทยาลัย และโรงเรียนมัธยม

อักษรธรรมล้านนา หรือ ตั๋วเมือง เป็นตัวอักษรที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและสำคัญที่สุด
ลูกหลานคนเมืองจำเป็นต้องศึกษาเพื่อให้มีการสืบสานไว้ให้คู่แผ่นดินล้านนาตราบนานเท่านาน

ตัวอย่าง อักษรธรรมล้านนา หรือ ตั๋วเมือง

2009-07-26_100332.jpg

muang.gifmuang.-2.gif

อักษรฝักขาม

อักษรฝักขาม เป็นตัวหนังสือของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชที่แพร่เข้าไปในล้านนา
โดยได้เปลี่ยนรูปร่างและอักขรวิธีไปบ้าง จึงกลายเป็นอักษรฝักขาม
ในล้านนานิยมใช้อักษรฝักขามสำหรับเขียนศิลาจารึก หลักที่เขียนเป็นอักษรฝักขามเก่าแก่ที่สุด
คือ ศิลาจารึก ลพ. ๙ เขียน พ.ศ. ๑๙๕๔ และหลักใหม่สุดเขียน พ.ศ. ๒๓๗๐

ตัวอย่าง อักษรฝักขาม

fukkam.jpg

อักษรไทยนิเทศ หรือ ตั๋วไทยนิเทศ

อักษรไทยนิเทศหรืออักษรขอมเมือง ตัวอักษรชนิดนี้เกิดจากการดัดแปลงอักษรธรรมล้านนา
และอักษรฝักขามเข้าด้วยกันแล้วเติม “ศก” แบบขอม อักษรไทยนิเทศังสรุปไม่ได้ชัดเจน
ว่ามีมาเมื่อใด เดิมเข้าใจกันว่าเกิดขึ้นในสมัยพระเจ้ากาวิละ
แต่ภายหลังเริ่มพบหลักฐานว่ามีมาก่อนหน้านั้นแล้ว
อักษรไทยนิเทศนิยมใช้เขียนในกวีนิพนธ์ต่างๆที่เป็นเรื่องทางโลก เช่น นิราศหริภุญไชย
โคลงมังทรารบเชียงใหม่ โคลงพรหมทัต ทั้งนี้ถือว่าอักษรธรรมเป็นของสูง ใช้เขียนในศาสนา
จึงไม่ใช้เขียนงานของกวีนิพนธ์ อักษรทั้งสามแบบดังกล่าว มีหน้าที่ในสังคมล้านนาต่างกัน
และมีที่มาต่างกันด้วย การใช้ตัวอักษรของชาวล้านนาในอดีตจึงต้องพิจารณาตามความเหมาะสม
นักเรียนประวัติศาสตร์ควรศึกษาที่มาของอักษรที่ใช้ในล้านนา
และสามารถศึกษาหลักฐานประวัติศาสตร์จากอักษรโบราณได้

อักษรไทยนิเทศ เป็นอักษรผสมระหว่างอักษรธรรมล้านนา กับอักษรฝักขาม
รูปแบบตัวอักษรเกือบทั้งหมดมีลักษณะคล้ายตัวอักษรฝักขาม
แต่จะกลมป้อมเหมือนอักษรธรรมล้านนา มีการเติมศกบนตัวอักษรบางตัว
มีอักขรวิธีบางแบบเหมือนอักษรธรรมล้านนา ชื่อของอักษรมีหลายอย่าง เช่น อักษรขอมไทย
อักษรขอมเมือง อักษรขอมหวัด อักษรไทยฝักขาม อักษรฝักขามใหม่ และอักษรไทยนิเทศ
ซึ่งเป็นชื่อที่นักวิชาการในปัจจุบันส่วนใหญ่รู้จักและเรียกขานกัน

ทั้งนี้เนื่องจากข้อความท้ายเรื่องโคลงมังทรารบเชียงใหม่ บันทึกไว้ว่าอักษรชนิดนี้เรียกว่า
อักษรไทยนิเธดหรือ อักษรไทยนิเทศ สันนิษฐานว่าเริ่มใช้อักษรไทยนิเทศหลัง พ.ศ. ๒๐๙๙
เล็กน้อย และมักใช้เขียนเรื่องทางคดีโลก โดยเฉพาะวรรณกรรมโคลงต่างๆ อาทิ
โคลงนิราศหริภุญไชย โคลงนิราศดอยเกิ้ง โคลงพรหมทัต โคลงมังทรา
จากต้นฉบับใบลานเท่าที่เหลืออยู่ ซึ่งคงจะเป็นฉบับคัดลอก พบว่ามีอายุระหว่าง
พ.ศ. ๒๓๕๕ - ๒๓๘๙ ซึ่งน่าจะเป็นช่วงที่อักษรไทยนิเทศได้รับความนิยมสูงสุด
และพบบ้างตามก้อนอิฐที่ใช้ก่อสร้างศาสนสถานต่างๆ ในล้านนา เช่น ที่เชียงราย เป็นต้น
แต่ไม่มากนัก เนื่องด้วยระยะเวลาอันสั้น
และความนิยมใช้อักษรไทยนิเทศคงมีอยู่เฉพาะในเขตราชสำนักเท่านั้น
ยังไม่แพร่หลายไปถึงประชาชนทั่วไป จึงทำให้อักษรชนิดนี้ไม่เป็นที่รู้จักเท่าที่ควรและสุดท้ายก็ไม่มีการใช้อีกเลย

ตัวอย่าง อักษรไทยนิเทศ หรือ ตั๋วไทยนิเทศ

thainithet.gif

thainithet.jpg

thainithet.2.gif

สำหรับท่านที่สนใจเรียนตั๋วเมืองเชิญคลิ๊กที่ลิงค์ด้านล่างครับ

๑. แบบเรียนอักษรล้านนา หรือ ตั๋วเมือง
๒. ระบบการพิมพ์อักษรธรรมล้านนา หรือ ตั๋วเมือง

กำเมือง คนเมือง ... บ่าอู้แล้วไผจะอู้
ตั๋วเมือง คนเมือง ... บ่าเฮียนแล้วไผจะเฮียน



__________________
Anonymous

Date:

ອ່ານບໍ່ອອກ



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

study_m4_1.jpg

อักษรล้านนาคืออักษรธรรมของลาวในปัจจุบัน แล้วตรงกับอักษรลาวในปัจจุบันไหม


 ບໍ່ຄືນະ



__________________
Anonymous

Date:

ອັກສອນລາວ

ກ ຂ ຄ ງ ຈ ສ ຊ ຍ ດ ຕ ຖ ທ ນ ບ ປ ຜ ຝ ພ ຟ ມ ຢ  ຣ ລ ວ ຫ ອ ຮ 

ก ข  ค ง จ ส ซ  ย ด ต  ถ  ท น บ  ป ผ ฝ  พ ฟ ม  ย  ร  ล  ว ห อ ฮ



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:

ອັກສອນລາວ

ກ ຂ ຄ ງ ຈ ສ ຊ ຍ ດ ຕ ຖ ທ ນ ບ ປ ຜ ຝ ພ ຟ ມ ຢ  ຣ ລ ວ ຫ ອ ຮ 

ก ข  ค ง จ ส ซ  ย ด ต  ถ  ท น บ  ป ผ ฝ  พ ฟ ม  ย  ร  ล  ว ห อ ฮ


 บางตัวเหมือนกันยังกะแกะ 5555



__________________
Anonymous

Date:

Anonymous wrote:
Anonymous wrote:

ອັກສອນລາວ

ກ ຂ ຄ ງ ຈ ສ ຊ ຍ ດ ຕ ຖ ທ ນ ບ ປ ຜ ຝ ພ ຟ ມ ຢ  ຣ ລ ວ ຫ ອ ຮ 

ก ข  ค ง จ ส ซ  ย ด ต  ถ  ท น บ  ป ผ ฝ  พ ฟ ม  ย  ร  ล  ว ห อ ฮ


 บางตัวเหมือนกันยังกะแกะ 5555


 โหมี 4 ตัวที่ไม่เหมือนอักษรไทย

ข ซ อ ฮ  นอกนั้นคล้ายกันทุกประการ



__________________
Anonymous

Date:
RE: ອັກສອນລ້ານນາ ຄືກັນກັບ ອັນສອນລາວບໍ່ ຊ່ອຍເບິ່ງແນ່


ອັກສອນລາວ

ມີ  ທ  ທຸງ  ຕົວດຽວ ໄທ ท ฑ ธ ฐ

ມີ  ຊ  ຊ້າງ ຕົວດຽວ ໄທ ช ซ ฉ

ມີ  ຄ  ຄົນ  ຕົວດຽວ ໄທ ต ฆ 

ມີ  ສ  ເສືອ   ຕົວດຽວ ໄທ ส ศ  ษ

ມີ  ພ  ພູ  ຕົວດຽວ ໄທ พ  ภ

ມີ  ນ  ນົກ   ຕົວດຽວ ໄທ น ณ

ມີ  ຍ  ຍຸງ   ຕົວດຽວ ໄທ ย ญ

ມີ  ລ   ລິງ ຕົວດຽວ ໄທ ล  ฬ

 



__________________
ນັກເດົາ

Date:

ພະຍັນຊະນະໃນພາສາລາວແຕ່ຄາວສະໃໝເຈົ້າຊີວິດນຸ່ງຜ້າກະຕ່ຽວມີທັງໝົດ 41 ໂຕ

ມີຄວາມສາມາດທຽບເທົ່າກັບພາສາຊົນເຜົ່າແລະພາສາສາກົນໄດ້ເປັນຢ່າງດີ.

ແຕ່ຍ້ອນຄວາມເຫັນແກ່ຕົວນັກປຣາຊແລະນັກການເມືອງບາງຄົນ

ເພິ່ນຈຶ່ງຕັດພະຍັນຊະນະເຫຼົ່ານັ້ນອອກຈາກວົງສາຄະນະຍາດຂອງພະຍັນຊະນະລາວ.

 

97941350177168675982.png

http://www.lao-americansheritage.com



__________________
Anonymous

Date:

ท่อง ก ไก่ สมัยใหม่



__________________


Senior Member

Status: Offline
Posts: 212
Date:

ນັກເດົາ wrote:

ພະຍັນຊະນະໃນພາສາລາວແຕ່ຄາວສະໃໝເຈົ້າຊີວິດນຸ່ງຜ້າກະຕ່ຽວມີທັງໝົດ 41 ໂຕ

ມີຄວາມສາມາດທຽບເທົ່າກັບພາສາຊົນເຜົ່າແລະພາສາສາກົນໄດ້ເປັນຢ່າງດີ.

ແຕ່ຍ້ອນຄວາມເຫັນແກ່ຕົວນັກປຣາຊແລະນັກການເມືອງບາງຄົນ

ເພິ່ນຈຶ່ງຕັດພະຍັນຊະນະເຫຼົ່ານັ້ນອອກຈາກວົງສາຄະນະຍາດຂອງພະຍັນຊະນະລາວ.

 

97941350177168675982.png

http://www.lao-americansheritage.com


 ຂໍຊົມເຊີຍ ທ່ານນັກເດົາທີ່ເອົາຮູບພາບນີ້ມາລົງໄວ້ເພື່ອໃຫ້ຄົນຣຸ້ນໃຫມ່ໄດ້ປະດັບຄວາມຮູ້ວ່າເຮົາເຄີຍໃຊ້ອັກສອນແບບນີ້ມາກ່ອນ  ຂໍຈົ່ງຮັກສາຄວາມເປັນລາວໄວ້ໃຫ້ລູກຫລານເດີ ທຸກທ່ານ



__________________
Anonymous

Date:

**

ໝອງຄາຍ ?



__________________
Anonymous

Date:

>Mong Khai or Nong khai ?> ໝອງ ຄາຍ ຫຼື ໜອງ ຄາຍ ? ຫມອງ ຄາຍ ຫຼື ຫນອງ ຄາຍ ?

__________________
Anonymous

Date:

no ຂັດຄ້ານ disbelief ຫລື no ຄັດຄ້ານ no

ຢູ່ໃນ­ໝວດ­ຄໍາ­ທີ່­ມັກສະ­ກົດ­ຜິດ ເຄີຍໄດ້­ນໍາເອົາການ­ມັກສະ­ກົດຫລົງ­ກັນລະ­ຫວ່າງ­ຄໍາວ່າ "ຂັດ" ແລະ­ "ຄັດ" ທ່ານ­ສາມາດອ່ານໄດ້­ຈາກ: http://bailane.com/Blog/ViewBlog.aspx?sid=109&hid=21263 
ສໍາ­ລັບເທື່ອນີ້ ຈະ­ມາວິເຄາະ­ວິຈານ­ການໃຊ້­ຄໍາ­ສັບ­ທີ່­ມີຄວາມຫມາຍ "ຕ້ານ­ທານ, ບໍ່ເຫັນ­ດີນໍາ, ບໍ່ຍອມ­ຕາມ" ເຊິ່ງໃນຜ່ານ­ມາເຄີຍເຫັນ­ມີຂຽນເປັນ­ສອງແບບ­ຄື "ຄັດຄ້ານ" ແລະ­ "ຂັດຄ້ານ". 
ຢູ່­ຕາມ­ປຶ້ມ­ວັດຈະ­ນານຸກົມ ແລະ­ເອກະ­ສານ­ນັບແຕ່­ປີ 2010 ລົງໄປ ມັກເຫັນ­ຂຽນເປັນ "ຄັດຄ້ານ". ແຕ່­ມາ­ສອງ­ສາມ­ປີມານີ້ ເຫັນ­ຫຼາຍເອກະ­ສານ­ພາກັນ­ຂຽນເປັນ "ຂັດຄ້ານ". ສາເຫດ­ທີ່ເຮັດໃຫ້­ມີບາງ­ຄົນ­ບໍ່­ຂຽນ­ຕາມ­ທີ່ເຄີຍ­ຂຽນ­ມາ ທັງໆ­ທີ່­ມີການ­ບັນ­ທຶກໄວ້­ຢູ່ໃນ­ວັດຈະ­ນານຸກົມ­ຄັກແນ່ ອາດແມ່ນຍ້ອນ­ອີງໃສ່ຄວາມຫມາຍ ເພາະ­ຄໍາວ່າ "ຂັດ" ມີຄວາມຫມາຍວ່າ "ບໍ່ເຮັດ­ຕາມ", ສ່ວນ­ຄໍາວ່າ "ຄັດ" ຜັດ­ມີຄວາມຫມາຍວ່າ "ເລືອກ". ດັ່ງ­ນັ້ນ, ຈຶ່ງ­ອີງ­ຕາມ­ຄວາມຫມາຍ­ມາ­ຂຽນ. ຕາມ­ທໍາມະ­ດາແລ້ວ ຄໍາໃດ­ທີ່ເປັນ­ຄໍາ­ຊ້ອນ ແຕ່ລະ­ຄໍາ­ຈະ­ມີຄວາມຫມາຍໃກ້­ຄຽງ­ກັນ ເຊັ່ນ ອິດເມື່ອຍ ທັງ "ອິດ" ແລະ­ "ເມື່ອຍ" ມີຄວາມຫມາຍຄ້າຍ­ຄືກັນ, ຫຍັບຍ້າຍ ທັງ "ຫຍັບ" ແລະ­ "ຍ້າຍ" ມີຄວາມຫມາຍ "ເຄື່ອນ­ອອກ­ຈາກບ່ອນເກົ່າ" ຄືກັນ ແລະ­ອື່ນໆ­... 
ເມື່ອມາ­ພິຈາ­ລະ­ນາ­ຄໍາ­ທີ່­ຍົກ­ມາວິເຄາະ­ນີ້ ກໍແມ່ນ­ຕົກໃນ­ກໍລະ­ນີດຽວກັນ. ຫາກວ່າ­ຢາກໃຫ້­ຄໍາ­ຊ້ອນ­ດັ່ງກ່າວ ຂຽນ­ຖືກ­ຕາມ­ຄວາມຫມາຍແລ້ວ ກໍຄວນ­ຂຽນເປັນ "ຂັດຄ້ານ". ຫາກ­ບໍ່ໃສ່ໃຈເລື່ອງ­ຄວາມຫມາຍໂດຍ­ຂຽນໃຫ້­ຖືກ­ຕາມ­ສຽງເວົ້າເທົ່ານັ້ນ ຂຽນວ່າ "ຄັດຄ້ານ" ກໍເຫັນວ່າໄດ້ແລ້ວ ແລະ­ສາມາດ­ຕີຄວາມຫມາຍວ່າ "ເລືອກ­ທີ່ຈະ­ບໍ່ເຫັນ­ດີນໍາ".



__________________
Page 1 of 1  sorted by
Quick Reply

Please log in to post quick replies.



Create your own FREE Forum
Report Abuse
Powered by ActiveBoard